การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงาน Work Integrated Learning: WIL : วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์

        
Views: 49
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 28 Oct, 2024
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
Updated: 28 Oct, 2024
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.

    กลุ่มการจัดการเรียนการสอน เกิดจากการรวมตัวของคณาจารย์ที่สนใจจะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในทักษะแห่งอนาคตใหม่ในศตวรรษที่ 21 (21ST Century Skills) เป็นทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของประชาชนคนไทย ในฐานะการเป็นพลเมืองของโลก ที่มีการดำรงชีวิตท่ามกลางโลกแห่งเทคโนโลยี โลกของเศรษฐกิจและการค้า โลกาภิวัฒน์กับเครือข่าย ความสมดุลยของสิ่งแวดล้อมและพลังงาน ความเป็นสังคมเมือง ความเป็นสังคมผู้สูงอายุ และความเป็นโลกส่วนตัวอยู่กับตัวเอง มาถ่ายทอดสู่เพื่อทำให้นักศึกษามีคุณลักษณะด้านการเรียนรู้ที่สามารถปรับตัวได้อย่างชาญฉลาดเท่าทัน มีภาวะความเป็นผู้นำด้านการทำงาน ที่สามารถชี้นำตนเองในการพัฒนาการสร้างงานและอาชีพ และตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเองได้อย่างมีสติ และด้านศีลธรรม ที่ให้ความเคารพซึ่งกันและกัน มีความซื่อสัตย์ และเป็นพลเมืองที่มีคุณค่า  นำไปสู่การแลกเปลี่ยน เกิดการสร้างกลยุทธ์ ในลักษณะอาชีพต่าง ๆ ที่มีเทคโนโลยีสอดแทรกเข้าไปในระบบการเรียนการสอน การทำงานและการดำรงชีวิต ในเวทีการแข่งขันและมีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิต  ซึ่งตอบสนองยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นเอตทัคคะอย่างยั่งยืน สมาชิกกลุ่มประกอบด้วย คณาจารย์ที่สังกัดวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ ทั้ง 12 ท่าน ประกอบด้วย หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต

        โดยกลุ่มการจัดการเรียนการสอน ได้ดำเนินงานจัดการความรู้ตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยกำหนด มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกัดองค์ความรู้ และนำองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้  เพื่อศึกษารูปแบบ กระบวนการจัดการเรียนรู้ของวิทยาลัยฯ ในลักษณะที่แตกต่างกัน ภายใต้ตัวแบบสนับสนุนที่จัดทำแนวทางไว้ให้เป็นกรอบการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 

กรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีเป้าหมายไปที่ผู้เรียน เกิดคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 โดยผู้เรียนจะใช้ความรู้ในสาระหลักไปบูรณาการสั่งสมประสบการณ์กับทักษะ 3 ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี และทักษะชีวิตและอาชีพ ซึ่งการจัดการศึกษาจะใช้ระบบส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แนวทางจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ห้าระบบ คือ ระบบมาตรฐานการเรียนรู้ ระบบการประเมินผลทักษะการเรียนรู้ ระบบหลักสูตรและวิธีการสอน ระบบการพัฒนางานอาชีพ และระบบแหล่งเรียนรู้และบรรยากาศการเรียนรู้  

Attached files
file KM-Teaching_14.pdf (1.08 mb)
Others in this Category
document เทคนิคการสอนแบบมืออาชีพ : คณะครุศาสตร์
document การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
document การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
document การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) : คณะวิทยาการจัดการ
document การจัดการเรียนการสอนแบบ บรูณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work Integrated Learning : WIL) : คณะวิศวกรรมศาสตรฯ
document การพัฒนาศักยภาพนักศึษาและเสริมสร้างทัษะเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 : คณะศิลปกรรมศาสตร์ฯ
document การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการทาวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ : บัณฑิตวิทยาลัย
document การใช้ Podcast Streaming สาหรับการจัดการเรียนการสอน Hybrid/HyFlex Classroom : วิทยาลัยนวัตกรรมฯ
document การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับพันธกิจอื่น (การบริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม) : วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ
document การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
document การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การจัดการเรียนการสอนนักศึกษาสู่การมีส่วนร่วมระดับชุมชน :วิทยาลัยนิเทศศาสตร์
document การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-Based Education : OBE) : วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ
document การพัฒนาสาขาวิชาสู่เอตทัคคะ : วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง
document การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ : โรงเรียนสาธิต
document เทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : คณะครุศาสตร์
document รูปแบบการบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : คณะวิทยาศาสตร์ฯ
document การพัฒนาผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์สู่การจดอนุสิทธิบัตร/ สิทธิบัตร
document รูปแบบการบริการวิชาการการวิจัยที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : คณะวิทยาการจัดการ
document รูปแบบการวิจัย การบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
document การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนจากแหล่งทุนภายนอก : คณะศิลปกรรมศาสตร์
document รูปแบบการวิจัยและบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : บัณฑิตวิทยาลัย
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้การตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ
document การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
document การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อให้ได้ทุนวิจัยจากแหล่งทุนอื่น : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การจัดทำวารสารวิชาการเพื่อเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI : วิทยาลัยนิเทศศาสตร์
document เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนจากแหล่งทุนภายนอก : วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
document การพัฒนางานสร้างสรรค์สู่งานวิจัย : วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง