- ความรู้ที่ได้และการกลั่นกรองความรู้
ความรู้ที่ได้
- แนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
- ข้อเสนอโครงการวิจัยที่พร้อมเสนอขอรับทุนสนับสนุนการวิจัย
ผ่านการกลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ ดังนี้
- รศ.ดร.โยธิน แสวงดี
- รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์
- รศ.ดร.ศิริชัย พงษ์วิชัย
- ผศ.สุภาวดี โพธิยะราช
- ดร.สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์
- ดร.วารุณี วารัญญานนท์
- ดร.สมถวิล ธนโสภณ
- คุณสุนันทา สมพงษ์
- คุณอรสา ดิสถาพร
บันทึกและจัดเก็บอยู่ที่
- คณะครุศาสตร์
- คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
- คณะวิทยาการจัดการ
- คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
- คณะศิลปกรรมศาสตร์
- บัณฑิตวิทยาลัย
- วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ
- วิทยาลัยนานาชาติ
- วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
- วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
- วิทยาลัยการภาพยนตร์ ศิลปะการแสดง และสื่อใหม่
- วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
- โรงเรียนสาธิต
- กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- ประโยชน์ขององค์ความรู้และการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางาน
- ประโยชน์ขององค์ความรู้
1) ได้พัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยสู่การส่งข้อเสนอตามหน่วยงานภายนอกที่ประกาศรับ
2) ได้องค์ความรู้ใหม่ในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
- การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางาน
1) ได้รับทุนสนับสนุนในการดำเนินการวิจัย
2) ได้พัฒนาสู่การนำไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) ได้สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัย
- การขยายผลการนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
1) เป็นพี่เลี้ยงให้กับบุคลากรในหน่วยงานและบุคลากรภายนอกหน่วยงาน
2) ได้แลกเปลี่ยนกับกลุ่ม KM ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและภายนอกมหาวิทยาลัย
- สรุปการดำเนินการจัดการความรู้ของกลุ่มความรู้
- ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
1) มีระบบและกลไกที่เอื้อต่อการจัดการความรู้
2) มีทรัพยากรที่เพียงพอ เช่น งบประมาณที่เอื้อต่อการดำเนินการ
3) มีงบประมาณส่งเสริมและรางวัลสนับสนุน
- ปัญหาและอุปสรรค
1) อาจารย์มีภาระงานสอนมาก
- การต่อยอดองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่เกิดขึ้น
- งานวิจัย
1) นำไปขอทุนสนับสนุนงานวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกหรือบริษัทห้างร้าน
2) นำไปบูรณาการกับการเรียนการสอนและการวิจัย
3) สามารถเขียนเป็นหนังสือหรือบทความเพื่อการเผยแพร่