ส่วนที่ 2 การดำเนินงานจัดการความรู้ ขั้ยตอนที่ 5 การนำประสบการณ์จากการทำงาน และการประยุกต์ใช้ความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสกัดออกมาเป็นขุมความรู้

        
Views: 469
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 09 Aug, 2017
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
Updated: 09 Aug, 2017
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.

สมาชิกกลุ่มความรู้ นำความรู้และประสบการณ์ของตนเอง ผนวกกับแนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมกันสกัดองค์ความรู้ของสมาชิกในกลุ่ม ไปใช้ในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย และเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ทรงคุณวุฒิตามศาสตร์ จากนั้นนำข้อเสนอแนะที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิไปปรับแก้ (ร่าง) ข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนสนับสนุนการดำเนินงานวิจัย

                   สมาชิกกลุ่มได้ส่งข้อเสนอโครงการวิจัยผ่านระบบ RIS ของสถาบันวิจัยและพัฒนา ดังนี้

ชื่อ-สกุล

หน่วยงาน

ชื่อเรื่องวิจัย/ชุดโครงการวิจัย

  1. ผศ.ภาวิณี โฆมานะสิน

คณะครุศาสตร์

ชื่อโครงการวิจัย : การพัฒนาครูพี่เลี้ยงด้วยการใช้กระบวนการการสอนงานระบบพี่เลี้ยง(Coaching and Mentoring)เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครู     

  1. อาจารย์กัญญารัตน์ บุษบรรณ

คณะวิทยาศาสตร์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วย STEM เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา

  1. อาจารย์ ดร.วัฒนา  พันธุ์พืช

คณะวิทยาศาสตร์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : การศึกษาสารอาหารเสริมจากเปลือกกุ้งเพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ

ชื่อโครงการวิจัย : การศึกษาสารต้านอนุมูลอิสระและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากไพลดำ

  1. อาจารย์ ดร.รัตนชัย ไทยประทุม

คณะวิทยาศาสตร์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีองค์ประกอบในการช่วยชะลอวัย (เครื่องดื่มชนิดผง) จากสมุนไพรพื้นบ้านไทย

  1. อาจารย์ ดร.ศันสนีย์ แสนศิริพันธ์

คณะวิทยาศาสตร์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : ผลของวิธีการอบแห้งต่อคุณภาพและฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของดีปลี

ชื่อโครงการวิจัย : การพัฒนาเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก Single span สำหรับอบแห้งกระดาษจากเปลือกมะพร้าว

  1. อาจารย์ ดร.จิตรลดา ชูมี

คณะวิทยาศาสตร์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : วัสดุคอมโพสิทผสมถ่านกัมมันต์เพื่อบำบัดน้ำ

  1. อาจารย์ ดร.พลอยทราย โอฮาม่า

คณะวิทยาศาสตร์ฯ

ชื่อแผนงานวิจัย : ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพชะลอวัยจากสมุนไพรพื้นบ้าน

  1. อาจารย์เสาวณีย์ คำพันธ์

คณะวิทยาศาสตร์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : สมุนไพรไทยที่มีฤทธิ์ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด

  1. ผศ.ดร.วนิดา วอนสวัสดิ์

คณะวิทยาศาสตร์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : อุปกรณ์ตรวจสอบสารปนเปื้อนในสมุนไพร

  1. อาจารย์ ดร.อาริยา ภู่ระหงษ์

คณะมนุษยศาสตร์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักศึกษา แขนงวิชาการจัดการทางวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา

  1. ผศ.พล.ต.ท.ดร.ณรงค์ กุลนิเทศ

บัณฑิตวิทยาลัย

ชื่อโครงการวิจัย : การตรวจหาลายนิ้วมือแฝงที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าบนกระดาษ โดยวิธีการทางนิติวิทยาศาสตร์

  1. ผศ.เอกณรงค์ วรสีหะ

วิทยาลัยนวัตกรรมฯ

ชื่อโครงการวิจัย : การสร้างและยกระดับเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ผ่านอาหารพื้นถิ่น ในจังหวัด

ระนอง โดยผ่านเทคโนโลยีการสื่อสาร

  1. อาจารย์เปรมกมล จันทร์กวีกูล

วิทยาลัยนวัตกรรมฯ

ชื่อโครงการวิจัย : ปัจจัยสู่ความสาเร็จขององค์กรธุรกิจเพื่อสังคมในประเทศไทย

  1. อาจารย์สุพัตรา ปราณี

วิทยาลัยนวัตกรรมฯ

ชื่อโครงการวิจัย : รูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจสปาสู่การรับรองมาตรฐานของผู้ประกอบการในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน

ชื่อโครงการวิจัย : รูปแบบการทำงานและอาชีพที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร

  1. อาจารย์สุภัคศิริ ปราการเจริญ

วิทยาลัยนานาชาติ

ชื่อโครงการวิจัย : รูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจสปาสู่การรับรองมาตรฐาน

ของผู้ประกอบการในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน

  1. รศ.ทัศนีย์ ศิริวรรณ

วิทยาลัยนานาชาติ

ชื่อแผนงานวิจัย : การยกระดับการจัดการท่องเที่ยวเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์เชื่อมโยงการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลตะวันตก

อาจารย์ญานิกา ชื่นตะโก

วิทยาลัยนานาชาติ

ชื่อโครงการวิจัย : การศึกษาศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยว ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

สุภัคศิริ ปราการเจริญ

วิทยาลัยนานาชาติ

ชื่อโครงการวิจัย : พฤติกรรมและความต้องการในการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติในเส้นทางการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลตะวันตก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

นลิน สีมะเสถียรโสภณ

วิทยาลัยนานาชาติ

ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย)     พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวด้านจักรยานเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ผศ.เอกณรงค์ วรสีหะ

วิทยาลัยนวัตกรรมฯ

ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย) การพัฒนาสื่อการท่องเที่ยวจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ

  1. อาจารย์ ดร.ลักษณ์วิรุฬม์ โชติศิริ

วิทยาลัยพยาบาลฯ

ชื่อโครงการวิจัย : การเลี้ยงดูหลานกับภาวะสุขภาพในการดูแลตนเองของย่ายายที่มีโรคเรื้อรัง

  1. อาจารย์ ดร.กรรณิกา เจิมเทียนชัย

วิทยาลัยพยาบาลฯ

ชื่อโครงการวิจัย : การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพของวัยผู้ใหญ่เพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

  1. อาจารย์ ดร.กนิษฐ์ โง้วศิริ

วิทยาลัยพยาบาลฯ

ชื่อโครงการวิจัย : การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพองค์รวม สำหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านในชุมชนกรุงเทพมหานครโดยการมีส่วนร่วม

  1. อาจารย์สุรีย์วรรณ สีลาดเลา

วิทยาลัยสหเวชศาสตร์

ชื่อโครงการวิจัย : ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูง ด้วยการแพทย์แผนไทย

  1. อาจารย์วันวิสาข์ สายสนั่น ณ อยุธยา

วิทยาลัยสหเวชศาสตร์

ชื่อโครงการวิจัย : ประสิทธิผลของโปรแกรมการฝึกไบโอฟีคแบคชนิดควบคุมการหายใจต่อ ภาวะซึมเศร้า และความแปรปรวนของอัตราการเต้นของหัวใจในผู้สูงอายุ

  1. อาจารย์วัลลภา วาสนาสมปอง

วิทยาลัยสหเวชศาสตร์

ชื่อโครงการวิจัย : ผลของกิจกรรมกระตุ้นการรู้คิดที่มีต่อภาวะพุทธิปัญญาและความรู้เรื่องภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุ ในชมรมผู้สูงอายุแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรสงคราม

ชื่อโครงการวิจัย : ผลของกิจกรรมเข้าจังหวะและการแสดงบทบาทสมมติที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ในเด็กปฐมวัย

  1. ผศ.ดร.ลดาวัลย์ อุ่นประเสริฐพงศ์ นิชโรจน์

วิทยาลัยสหเวชศาสตร์

ชื่อโครงการวิจัย : ผลของโปรแกรมการท่องเที่ยวสร้างสรรค์เชิงวัฒนธรรมและสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แบบผสมผสาน เพื่อผู้สูงอายุ ที่เป็นเบาหวาน ความดัน และไขมันในเลือดสูง  เมืองสามน้ำ สมุทรสงคราม

  1. อาจารย์ ดร.เบญจพนธ์ มีเงิน

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งนวัตกรรมสาหรับธุรกิจ SMEs ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณทล สู่อุตสาหกรรม 4.0

  1. อาจารย์สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : การบริหารจัดการโซ่อุปทานมะพร้าวน้ำหอมเพื่อการส่งออกในอำเภอพุทธมณฑลจังหวัดนครปฐม

  1. อาจารย์ ดร.ทมนี สุขใส

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระบบโลจิสติกส์สินค้ามือสอง กรณีศึกษา ชุมชนกองขยะหนองแขม พุทธมณฑลสาย3 กรุงเทพมหานคร

  1. อาจารย์ไกรวิทย์ สินธุคำมูล

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการสินค้าคงคลังของร้านขายของชำ

  1. อาจารย์ดวงใจ จันทร์ดาแสง

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย) การจัดการระบบซัพพลายเชนของฝรั่งและกล้วยร่วมแปลงจากเกษตรกรณีกลุ่มเกษตรเพื่อสอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดนครปฐม

  1. อาจารย์อัญชลี หิรัญแพทย์

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

ชื่อโครงการวิจัย : การจัดการโซ่อุปทานของมะม่วงหาวมะนาวโห่ ในจังหวัดนครปฐม

  1. อาจารย์เกตุม สระบุรินทร์

โรงเรียนมัธยมสาธิต

ชื่อโครงการวิจัย : ผลการพัฒนาทักษะการจัดกิจกรรมลูกเสือเพื่อพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษ ที่ 21 สำหรับนักศึกษาหลักสูตรผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ขั้นความรู้เบื้องต้น คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

                   จากนั้นสมาชิกกลุ่มได้เข้าร่วมโครงการวิพากษ์ข้อเสนอโครงการวิจัยที่สถาบันวิจัยและพัฒนาจัดขึ้น เมื่อวันที่ 12-14 กรกฎาคม 2560 ดังนี้

ลำดับ

ชื่อ-สกุล

หน่วยงาน

ผู้ทรงคุณวุฒิ

1

อาจารย์บารมีบุญ แสงจันทร์

วิทยาลัยนวัตกรรมฯ

1. รศ.ดร.โยธิน แสวงดี

2. รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์

3. รศ.ดร.ศิริชัย พงษ์วิชัย

4. ผศ.สุภาวดี โพธิยะราช

5. ดร.สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์

6. ดร.วารุณี วารัญญานนท์

7. ดร.สมถวิล ธนโสภณ

8. คุณสุนันทา สมพงษ์

9. คุณอรสา ดิสถาพร

2

ผศ.ดร.ญาณัญฏา ศิรภัทร์ธาดา

วิทยาลัยนวัตกรรมฯ

3

อาจารย์ ดร.จิราภรณ์ บุญยิ่ง

วิทยาลัยนวัตกรรมฯ

4

อาจารย์กัญญานันทน์ อนันต์มานะ

วิทยาลัยนวัตกรรมฯ

5

อาจารย์ ดร.ลักษณ์วิรุฬม์ โชติศริ

วิทยาลัยพยาบาลฯ

6

อาจารย์ กนิษฐ์ โง้วศิริ

วิทยาลัยพยาบาลฯ

7

อาจารย์สุดรารัตน์ พิมลรัตนกานต์

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

8

อาจารย์อัญชลี หิรัญแพทย์

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

9

อาจารย์วราภรณ์ สารอินมูล

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

10

อาจารย์ดวงใจ จันทร์ดาแสง

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

11

อาจารย์วทัญญู ชูภักตร์

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

12

อาจารย์ ดร.เบญจพนธ์ มีเงิน

วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

13

อาจารย์อาภาภรณ์ โพธิ์กระจ่าง

คณะวิทยาการจัดการ

      สมาชิกกลุ่มได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ “แนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย” หลังจากที่ได้นำแนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย ไปใช้ในการเขียน (ร่าง) ข้อเสนอโครงการวิจัย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ทรงคุณวุฒิ จึงนำความรู้ที่ได้มาแลกเปลี่ยนเพื่อปรับ“แนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย”

Others in this Category
document ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มความรู้
document ส่วนที่ 2 การดำเนินงานจัดการความรู้ ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดองค์ความรู้หลักที่จำเป็นหรือสำคัญต่องานหรือกิจกรรมของหน่วยงาน และกำหนดเป้าหมายของการจัดการความรู้
document ส่วนที่ 2 การดำเนินงานจัดการความรู้ ขั้นตอนที่ 2 การเสาะแสวงหาความรู้ที่ต้องการ/ การปรับปรุง ดัดแปลง ความรู้บางส่วนให้เหมาะสมต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน
document ส่วนที่ 2 การดำเนินงานจัดการความรู้ ขั้นตอนที่ 3 การปรับปรุง ดัดแปลง ความรู้บางส่วนให้เหมาะสมต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน
document ส่วนที่ 2 การดำเนินงานจัดการความรู้ ขั้นตอนที่ 4 การนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้มาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง
document ส่วนที่ 2 การดำเนินงานจัดการความรู้ ขั้นตอนที่ 6 การรวบรวมความรู้และจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร
document ส่วนที่ 3 ผลผลิตและผลลัพธ์