|
||
การประชุมสมาชิก KM
กลุ่ม Business Administration Class (BAC)
ครั้งที่ 1/2556
วันที่ 8 มกราคม 2556
ณ ห้องประชุมรวมใจ คณะวิทยาการจัดการ
ผู้เข้าร่วมประชุม
1.ผศ.ดร.วิมลศรี แสนสุข
2.ผศ.อนัญญา ธนะศรีสืบวงศ์
3.ผศ.ศิวิไล ชยางกูร
4.อาจารย์ปรเมษฐ์ แสงอ่อน
5.อาจารย์สุพัตรา กาญจโนภาส
6.อาจารย์ ดร.วิทยา อินทรพิมล
7.อาจารย์รุ่งลักษมี รอดขำ
8.อาจารย์สมชาย บัวรุ่ง
9.อาจารย์กิติเวทย์ บุญโญปกรณ์
10.อาจารย์ณัฐพงษ์ เตชะรัตนเสฎฐ์
11.อาจารย์กวินพัฒน์ เลิศพงษ์มณี
12.อาจารย์ ดร.วิชาดา โชคศิขริน
13.อาจารย์สุรางคนา พิพัฒน์โชคไชโย
14.อาจารย์ชุติมา คล้ายสังข์
15.อาจารย์พิสิษฐ์ พจนจารุวิทย์
การประชุม 1/2556 เกี่ยวกับการจัดการความรู้ของกลุ่มสาขาวิชาบริหารธุรกิจซึ่งมีบุคคลากรที่แจ้งความประสงค์เข้าร่วมกลุ่มความรู้ แผน 3 การพัฒนาการเรียนการสอน จำนวน 15 ท่าน
ผศ.ดร.วิมลศรี แสนสุข ได้ชี้แจงสมาชิกกลุ่มให้เห็นถึงความสำคัญของการจัดการความรู้ซึ่งจะส่งผลต่อการปรับปรุงเทคนิค กระบวนการ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนำความรู้นั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ของกลุ่มสาขาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น
จากนั้นได้เลือก คุณอำนวย คุณลิขิต คุณประสาน คุณกิจ และคุณวิศาสตร์ จากสมาชิกทั้งหมดโดยได้รายละเอียดดังนี้
อาจารย์สุพัตรา กาญจโนภาส คุณอำนวย
ผศ.ดร.วิมลศรี แสนสุข คุณกิจ
ผศ.อนัญญา ธนะศรีสืบวงศ์ คุณกิจ
ผศ.ศิวิไล ชยางกูร คุณกิจ
อาจารย์ปรเมษฐ์ แสงอ่อน คุณกิจ
อาจารย์ ดร.วิทยา อินทรพิมล คุณกิจ
อาจารย์รุ่งลักษมี รอดขำ คุณกิจ
อาจารย์สมชาย บัวรุ่ง คุณกิจ
อาจารย์กิติเวทย์ บุญโญปกรณ์ คุณกิจ
อาจารย์ณัฐพงษ์ เตชะรัตนเสฎฐ์ คุณกิจ
อาจารย์กวินพัฒน์ เลิศพงษ์มณี คุณกิจ
อาจารย์ ดร.วิชาดา โชคศิขริน คุณกิจ
อาจารย์สุรางคนา พิพัฒน์โชคไชโย คุณกิจ
อาจารย์ชุติมา คล้ายสังข์ คุณกิจ
อาจารย์พิสิษฐ์ พจนจารุวิทย์ คุณลิขิต
และสมาชิกได้มีมติให้ดำเนินการจัดตั้งชื่อกลุ่มว่า “กลุ่ม Business Administration Class (BAC)” โดยเลือกองค์ความรู้ “เทคนิคการพัฒนานักศึกษาให้ได้ตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์” โดยมีเป้าหมายคือ การเทคนิคการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้านการเรียนการสอนให้สามารถผลิตบัณฑิตให้ได้คุณลักษณะที่เป็นที่พึงประสงค์ตาม ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต
ที่ประชุมกำหนดกิจกรรม วิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยสรุปได้ดังนี้
1. ตั้งชุมชนนักปฏิบัติ (COP) และกำหนดบทบาทหน้าที่ของสมาชิก
2. กำหนดหัวข้อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แก่ การประชุมและการทำงานการประชุม การใช้สื่อออนไลน์
4. นำความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปปฏิบัติ โดยการศึกษาด้วยตนเองทั้งในรูปแบบเอกสารและหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เชิญผู้มีประสบการณ์มาให้ความรู้และแลกแปลี่ยนเรียนรู้กัน
5. หาความรู้เพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์ที่ทำให้หน่วยงานมีการปฏิบัติงานที่ดีขึ้น
6. แบ่งปันความรู้ ได้แก่ เว็บไซต์คณะ เว็บไซต์ km
7. บันทึกความรู้ในคลังความรู้ของหน่วยงาน เว็บไซต์คณะ
อาจารย์พิสิษฐ์ พจนจารุวิทย์
ผู้บันทึกรายงานการประชุม
อาจารย์สุพัตรา กาญจโนภาส
ผู้ตรวจรายงานการประชุม |