PBL Driven อาจารย์พัทธนันท์ รัตนวรเศวต

        
Views: 958
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 02 Aug, 2013
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
Updated: 02 Aug, 2013
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
เทคนิคการเรียนการสอนแบบ Project Base Learning: PBL
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 
ผู้เขียนบทความ: อาจารย์พัทธนันท์ รัตนวรเศวต, อาจารย์มัทญา พัชนี
สาขาวิชา: ภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ
การกำหนดเอกลักษณ์ PBL ของสาขาวิชา (เพื่อให้สาขาวิชารู้สึกเป็นเจ้าของ PBL)
          P = Physical Process
          B = Boundary of Economic Area
          L = Location Analysis 
 
รายวิชา
รายละเอียดรายวิชา
1. GEO1201 ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ Economic Geography 3(2-2-5)
ธรรมชาติรายวิชา (ให้ทำสัญลักษณ์ ü)
รายละเอียด
4
3
2
1
1.ท่องจำ
 
 
ü
 
2.ฝึกทักษะ
ü
 
 
 
3.การประยุกต์ศาสตร์อื่น
 
 
ü
 
4.เน้นประสบการณ์
 
ü
 
 
5.เน้นการคิด วเคราะห์ หาสาเหตุ
 
ü
 
 
 
วิธีการสอน
วิธีการสอนอื่นๆ และ/หรือใช้ PBL
กลุ่ม / ประเภทวิธีการสอน
1.การสอนโดยการบรรยายทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทำเลที่ตั้ง ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ และการแสดงความเป็นเหตุเป็นผลเพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่ที่สัมพันธ์กับการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
บรรยาย
2.การสอนโดยการฝึกปฏิบัติ โดยการให้นักศึกษาลงพื้นที่ภาคสนามในการเก็บข้อมูล นอกจากนี้นักศึกษาจะต้องทำการค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลอื่น ทำให้นักศึกาเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมากยิ่งขึ้น
ฝึกปฏิบัติ
3.ให้นักศึกษาเขียนแบบเสนอโครงการ (Proposal) ซึ่งผู้สอนได้ทำการออกแบบไว้ รวมถึงแบบการประเมิงโครงงานด้วย ทำให้ผู้สอนมีทิศทางในการประเมินและทิศทางให้แก่นักศึกษาในการจัดทำโครงงาน  โดยนักศึกษาที่ทำการสอนเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1
การทำโครงงาน
 
ผลที่ได้รับ
ผลที่ได้รับ
กลุ่ม / ประเภทผลที่ได้รับ
1.นักศึกษาทราบและเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับทฤษฎีด้านทำเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่สัมพันธ์กับสภาพทางภูมิศาสตร์
ทราบ/เข้าใจ
2.นักศึกษาทราบและสามารถเก็บข้อมูลเบื้องต้นในพื้นที่ภาคสนามได้ ค้นคว้าหาข้อมูลประกอบการศึกษาได้
สามารถเก็บข้อมูลตัวอย่างเบื้องต้นและสืบค้นข้อมูลได้
3.นักศึกษาสามารถจัดทำโครงงาน ศึกษาวิเคราะห์สภาพทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่ศึกษาที่ส่งผลต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยใช้ทฤษฎีและแนวทางการเก็บข้อมูลจากภาคบรรยายและปฏิบัติตามที่ได้เรียนรู้
สามารถวิเคราะห์ได้
 
ความเห็นอื่นๆ
การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักศึกษาทำโครงงาน หรือ PBL นั้น ขอให้ความเห็นว่า ควรมีการจัดระดับของโครงงานในแต่ละชั้นปี เนื่องจาก แต่ละชั้นปีมีความแตกต่างกันในเรื่องของทักษะและความรู้ เช่น นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ควรมีการทำโครงงานที่มีความซับซ้อนและมีการจัดทำรายงานที่ตอบข้อคำถามหรือสมมติฐาน 5 บท ส่วนชั้นปีที่ 1 ควรมีการจัดทำโครงงานในรูปแบบของโครงร่างที่อาจารย์กำหนด ซึ่งมีข้อคำถามน้อยกว่าชั้นปีที่ 4
 
 
Others in this Category
document PBL Driven อาจารย์ อังคณา สุขวิเศษ
document Scope of PBL (HS Group)
document PBL Driven อาจารย์จินต์จิรา บุญชูตระกูล
document PBL Driven อาจารย์นิธิวดี โฆสรัสวดี
document PBL Driven อาจารย์จารุมน หนูคง
document PBL Driven อาจารย์วิชุดา ขุนหนู