1.ความเป็นมาของชุมชนนักปฏิบัติ
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ได้เปิดทำการสอนเมื่อปีพ.ศ. 2550 แม้เป็นสถาบันการศึกษาพยาบาลศาสตร์ใหม่ วิทยาลัยฯ มีนโยบายมุ่งมันสนับสนุนให้มีการพัฒนาคณาจารย์ในด้านต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านการเรียนการสอนมาโดยตลอด และจากการสัมมนาครั้งล่าสุด เมื่อวันที่24-25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 ในหัวข้อเรื่อง “การประยุกต์ใช้กระบวนการจัดการความรู้ในการพัฒนาศักยภาพด้านการสอนภาคปฏิบัติของอาจารย์” จึงเป็นที่มาของกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติชื่อ กลุ่ม “๙ หน้า” เป็นกลุ่มของคณาจารย์สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ จำนวน 9 ท่าน ซึ่งมีความคิดเห็นตรงกัน ที่ปรารถนาจะนำความรู้จากการสัมมนาไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม
สมาชิกชุมชนนักปฏิบัติและบทบาทหน้าที่ของสมาชิก
ลำดับที่
|
ชื่อ-นามสกุล
|
บทบาทหน้าที่
|
หน่วยงานที่สังกัด
|
1
|
อาจารย์เพลินสุข นิลโต
|
คุณอำนวย
|
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
|
2
|
อาจารย์มาลี ชคัตประกาศ
|
คุณประสาน
|
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
|
3
|
อาจารย์กาญจนา อาชีพ
|
คุณประสาน
|
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
|
4
|
อาจารย์หนึ่งฤทัย โพธิ์ศรี
|
คุณวิศาสตร์
|
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
|
5
|
อาจารย์ศันสนีย์ รุ่งรัตน์ธวัชชัย
|
คุณวิศาสตร์
|
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
|
6
|
อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์
|
คุณลิขิต
|
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
|
7
|
อาจารย์ธิราพร พัวเวส
|
คุณลิขิต
|
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
|
8
|
อาจารย์ไพเราะ แสนสุรัตน์
|
คุณกิจ
|
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
|
9
|
รศ.ทิพาพันธ์ สังฆะพงษ์
|
คุณกิจ
|
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
|
2 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติ
1.หัวข้อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
หัวข้อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่กลุ่ม “๙ หน้า” ร่วมกันกำหนด ได้แก่
1) หัวข้อเรื่อง “อ่านออก บอกได้ ใช้เป็น เห็นชัด” มีที่มาจาก การแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและประสพการณ์ของอาจารย์นิเทศการฝึกภาคปฏิบัติของนศ.พยาบาลชั้นปีที่2 พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ไม่สามารถบันทึกข้อมูลประวัติผู้ป่วยและการตรวจร่างกายลงในแบบบันทึกข้อมูลที่ใช้ในการฝึกปฏิบัติวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุได้ ข้อมูลที่บันทึกมาจะมีลักษณะเขียนอ่านแล้วไม่เข้าใจ เขียนผิดไม่สื่อความหมาย ใช้ภาษาไม่ถูก บันทึกลงผิดช่อง หรือไม่บันทึกเลย เป็นต้น ทำให้ขาดข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ไปอย่างน่าเสียดาย อาจารย์นิเทศทุกท่านได้เคยสอบถามนักศึกษาเกี่ยวกับปัญหาข้อนี้ ซึ่งนักศึกษาส่วนใหญ่บอกว่าใช้เวลาในการบันทึกข้อมูลส่วนนี้นาน เพราะไม่เข้าใจและไม่รู้จะบันทึกอย่างไร ทางกลุ่มจึงสนใจจะนำปัญหานี้มาแก้ไข
2) กลุ่มมีความคิดเห็นตรงกันที่จะจัดทำคู่มือการซักประวัติและตรวจร่างกายขึ้นเนื่องจากยังไม่มีการทำมาก่อน เพื่อเป็นแนวทางให้นักศึกษานำไปใช้คู่ขนานกับแบบบันทึกข้อมูลที่ใช้อยู่แล้วโดยคู่มือที่ทำขึ้นนี้จะหาค่าความเที่ยง(validity)และความน่าเชื่อถือ(reliability) ดังนั้นทางกลุ่มจะทำ Rubric scoreของแบบบันทึกข้อมูล เพื่อเก็บข้อมูลไปวิเคราะห์
3) การหาค่าความเที่ยง(validity)โดยคณาจารย์สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ การหาความน่าเชื่อถือ(reliability) โดยสุ่มเลือกนักศึกษาจากหอผู้ป่วยที่ฝึกงานแห่งละ1คน รวม15คน ทดลองใช้คู่มือและประชุมกลุ่มนักศึกษาให้ร่วมแสดงความคิดเห็น ปรับคู่มือฯตามข้อเสนอแนะ
4) เนื่องจากขณะนี้นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่2กำลังอยู่ในการฝึกภาคปฏิบัติของRotation1(6สัปดาห์) ทางกลุ่มจะนำแบบบันทึกข้อมูลฉบับสุดท้ายของนักศึกษามาให้คะแนน Rubric score จัดเป็นคะแนนของกลุ่มควบคุม และเมื่อนักศึกษาเปลี่ยนแหล่งฝึกขึ้นปฏิบัติงานในRotation2(6สัปดาห์)เป็นสัปดาห์ที่3จะแจกคู่มือฯ ให้นักศึกษาใช้เป็นแนวทางคู่ขนานกับแบบบันทึกข้อมูล นำแบบบันทึกมาให้คะแนน Rubric score จัดเป็นคะแนนของกลุ่มทดลอง (ข้อมูลของกลุ่มทดลองเครื่องมือไม่นำใช้) นำข้อมูลไปวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหาผลสรุป นอกจากนี้ทางกลุ่มได้ให้นักศึกษาเขียนแสดงความคิดเห็นในการใช้คู่มือและเสนอแนะความต้องการ นำมาสรุปผลสุดท้ายที่ได้จากการประยุกต์ใช้กระบวนการจัดการความรู้ในการพัฒนาศักยภาพด้านการสอนภาคปฏิบัติของอาจารย์ กลุ่ม “๙ หน้า”
2. ปฏิทินการดำเนินงานของชุมชนนักปฏิบัติ (กลุ่มความรู้)
ลำดับที่
|
กิจกรรม
|
ระยะเวลา
|
ตัวชี้วัด
|
เป้าหมาย
|
ผู้รับผิดชอบ
|
1.
|
ดำเนินการจัดทำคู่มือการซักประวัติและตรวจร่างกาย
|
27-29กพ.2555
|
|
|
อ.ธิราพรและคณะ
|
2.
|
ทำ rubic score ของแบบบันทึกข้อมูล
|
27กพ-1.มีค.2555
|
|
|
อ.ธิราพร
|
3.
|
หาค่าความเที่ยงของคู่มือ(validity)
|
1,2มีค.2555
|
|
|
อ.ทิพาพันธ์
อ.เพลินสุข
อ.มาลี
อ.ศันสนีย์
อ.กาญจนา
|
4.
|
นำคู่มือไปให้นักศึกษา15คนทดลองใช้ เพื่อหาค่าความน่าเชื่อถือ(reliability)
|
5มีค.2555
|
|
|
อ.หนึ่งฤทัยและอาจารย์ประจำหอผู้ป่วย
|
5.
|
ประชุมร่วมกับนักศึกษาเพื่อรับฟังข้อเสนอแนะและปรับแก้คู่มือ
|
8มีค.2555
|
|
|
คณาจารย์ทั้งหมด
|
6.
|
นำแบบบันทึกข้อมูลฉบับสุดท้ายของนศ.Rotate1จำนวน80ฉบับมาให้คะแนนเป็นกลุ่มควบคุม
|
14มีค.-23มีค.2555
|
|
|
คณาจารย์ทั้งหมด
|
7.
|
พบนศ.(ฝึกปฏิบัติใน Rotate2)ทั้งชั้นปีเพื่อชี้แจงแจกคู่มือและให้เขียนความเห็นข้อเสนอแนะส่งหลังใช้คู่มือ
|
5เมย.2555
|
|
|
อ.มาลี
|
8.
|
เก็บรวบรวมแบบบันทึกข้อมูลของ นศ.(Rotate2) จำนวน80ฉบับมาให้คะแนนเป็นกลุ่มทดลอง
|
10-12เมย.2555
|
|
|
อ.หนึ่งฤทัย
อ.มาลี
อ.ธิราพร
|
9.
|
วิเคราะห์ข้อมูลสรุปผลการดำเนินงานและจัดพิมพ์
|
12-25เมย.2555
|
|
|
อ.หนึ่งฤทัย
อ.มลฤดี
|
|
|
|
|
|
|
1.กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555
อ.ธิราพรนำตัวอย่างคู่มือการซักประวัติและตรวจร่างกายที่จัดทำขึ้นมาให้อาจารย์ทุกคนร่วมแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะเพิ่มเติม นำคู่มือไปปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมตามข้อเสนอแนะ
|
ผู้เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
1. อาจารย์เพลินสุข นิลโต คุณอำนวย
|
2. อาจารย์มาลี ชคัตประกาศ
|
3. อาจารย์กาญจนา อาชีพ
|
4. อาจารย์หนึ่งฤทัย โพธิ์ศรี
|
5. อาจารย์ศันสนีย์ รุ่งรัตน์ธวัชชัย
|
6. รศ.ทิพาพันธ์ สังฆะพงษ์
|
7. อาจารย์ธิราพร พัวเวส
|
8. อาจารย์ไพเราะ แสนสุรัตน์
|
9. อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ คุณลิขิต
|
บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 วันที่ 2 มีนาคม2555
อาจารย์ทุกท่านทำความตกลงให้เป็นที่เข้าใจตรงกันในการใช้ rubic score และวิธีการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล การคัดเลือกข้อมูลและ การนำข้อมูลมาวิเคราะห์ จัดแบ่งงาน
|
ผู้เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
1. อาจารย์เพลินสุข นิลโต คุณอำนวย
|
2. อาจารย์มาลี ชคัตประกาศ
|
3. อาจารย์กาญจนา อาชีพ
|
4. อาจารย์หนึ่งฤทัย โพธิ์ศรี
|
5. อาจารย์ศันสนีย์ รุ่งรัตน์ธวัชชัย
|
6. รศ.ทิพาพันธ์ สังฆะพงษ์
|
7. อาจารย์ธิราพร พัวเวส
|
8. อาจารย์ไพเราะ แสนสุรัตน์
|
9. อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ คุณลิขิต
|
บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3 วันที่ 8 มีนาคม2555
เชิญนักศึกษาที่เป็นกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ15คนมาประชุมร่วมเพื่อให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ นักศึกษาทั้งหมดมีความพึงพอใจมากรู้สึกว่าเก็บข้อมูลได้ตรงและเร็วขึ้น รู้ว่าจะเขียนอย่างไร แต่อยากให้ทำเป็นกรณีตัวอย่างให้ด้วยจะช่วยให้เข้าใจมากขึ้น ทางกลุ่มอาจารย์เห็นด้วยและขอบคุณนักศึกษาที่ให้ความร่วมมือ แต่การทำกรณี่ตัวอย่างคงจะไม่ทันในครั้งนี้ ขอให้เป็นฉพาะส่วนของการตรวจสุขภาพก่อน
|
ผู้เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
1. อาจารย์เพลินสุข นิลโต คุณอำนวย
|
2. อาจารย์มาลี ชคัตประกาศ
|
3. อาจารย์กาญจนา อาชีพ
|
4. อาจารย์หนึ่งฤทัย โพธิ์ศรี
|
5. อาจารย์ศันสนีย์ รุ่งรัตน์ธวัชชัย
|
6. รศ.ทิพาพันธ์ สังฆะพงษ์
|
7. อาจารย์ธิราพร พัวเวส
|
8. อาจารย์ไพเราะ แสนสุรัตน์
|
9. อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ คุณลิขิต
|
บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 4 วันที่ 21มีนาคม 2555
อ.หนึ่งฤทัยรายงานผลการหาค่าความเที่ยงและความน่าเชื่อถือซึ่งอยู่ในเกณฑ์ยอมรับทั้ง2ค่า มีการรายงานแบบไม่เป็นทางการไปแล้วกับอาจารย์บางท่านเพราะนัดประชุมไม่ได้ อ.ธิราพร เสนอคู่มือที่ปรับล่าสุดและจะพิมพ์จำนวน120เล่มแจกนักศึกษา
|
ผู้เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
1. อาจารย์เพลินสุข นิลโต คุณอำนวย
|
2. อาจารย์มาลี ชคัตประกาศ
|
3. อาจารย์กาญจนา อาชีพ
|
4. อาจารย์หนึ่งฤทัย โพธิ์ศรี
|
5. อาจารย์ศันสนีย์ รุ่งรัตน์ธวัชชัย
|
6. รศ.ทิพาพันธ์ สังฆะพงษ์
|
7. อาจารย์ธิราพร พัวเวส
|
8. อาจารย์ไพเราะ แสนสุรัตน์
|
9. อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ คุณลิขิต
|
1.การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์รายบุคคล
ผู้บันทึก อาจารย์ มลฤดี โพธิ์พิจารย์ .
ความรู้ที่นำไปใช้ประโยชน์ : การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น และประสบการณ์ของคณาจารย์ ในกลุ่ม “๙ หน้า”
|
วิธีการนำไปใช้ประโยชน์ : การใช้วิธี story telling การแลกเปลี่ยนประสบการณ์และระดมสมอง โดยคุณอำนวยสร้างบรรยากาศความเป็นสุนทรียสนทนา โดยเปิดโอกาสให้อาจารย์ที่มีประสบการณ์น้อยที่สุดได้พูดก่อน มีการแลกเปลี่ยนความรู้และแสดงความคิดเห็น รวมทั้งมีการชื่นชมและให้กำลังใจซึ่งกันและกัน
|
ประโยชน์ที่ได้รับ (ความสำเร็จจากการใช้ความรู้) : ทำให้ทราบปัญหาของนักศึกษาเกี่ยวกับการขึ้นฝึกปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยและมีแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในหัวข้อเรื่อง อ่านออก บอกได้ ใช้เป็น เห็นชัด และในกลุ่มคณาจารย์ได้จัดทำคู่มือในการบันทึกข้อมูลและผลการตรวจร่างกายตามระบบ จำนวน 1 เล่ม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการนิเทศนักศึกษากลุ่ม Adult 1 และได้มีการพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนในบทบาทของอาจารย์นิเทศที่มีประสิทธิภาพต่อไปในกลุ่ม Adult 2
|
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม (การค้นพบเทคนิค/วิธีการของความรู้เพิ่มเติม) :
|
2.บทเรียนที่ได้จากการนำความรู้ไปปฏิบัติและแบบปฏิบัติที่ดี
บทเรียนที่ได้จากการนำความรู้ไปปฏิบัติ (บันทึกเป็นภาพรวมของกลุ่ม) :
สมาชิกทุกคนในกลุ่มเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการความรู้และกระบวนการทำ เพราะมีส่วนร่วมทุกคน เมื่อคนไหนไม่เข้าใจส่วนไหนก็ช่วยกันอธิบายจนเข้าใจ ทุกคนเห็นประโยชน์ที่เกิดจากงานที่ร่วมกันทำ เกิดความสามัคคี
|
แบบปฏิบัติที่ดีที่ได้ (จากการนำความรู้ไปปฏิบัติแล้วนำกลับมาแลกเปลี่ยนเพื่อหาแบบปฏิบัติที่ดี) : จากการทำงานในครั้งนี้ทำให้เห็นความจริงที่ว่า “การเรียนรู้ที่แท้จริงคือการเรียนรู้ตลอดชีวิต “ เพราะเมื่อมีการประชุมกลุ่มทุกครั้งไม่ว่าจะเป็นการประชุมกันเองหรือมีนักศึกษาร่วมประชุมด้วย จะมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อนำไปใช้ทำต่อยอดได้เรื่อยๆ เป็นการพัฒนาต่อเนื่องได้หากจะทำต่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่แตกฉานทั้งผู้สอนและผู้เรียน เช่น นักศึกษาเสนอว่าอยากให้ทำเป็นกรณีตัวอย่าง ซึ่งอาจารย์จะต้องไปพัฒนาคู่มือเพิ่มในส่วนนี้เป็นต้น
|
บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555
อ.ธิราพรนำตัวอย่างคู่มือการซักประวัติและตรวจร่างกายที่จัดทำขึ้นมาให้อาจารย์ทุกคนร่วมแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะเพิ่มเติม นำคู่มือไปปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมตามข้อเสนอแนะ
|
ผู้เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
1. อาจารย์เพลินสุข นิลโต คุณอำนวย
|
2. อาจารย์มาลี ชคัตประกาศ
|
3. อาจารย์กาญจนา อาชีพ
|
4. อาจารย์หนึ่งฤทัย โพธิ์ศรี
|
5. อาจารย์ศันสนีย์ รุ่งรัตน์ธวัชชัย
|
6. รศ.ทิพาพันธ์ สังฆะพงษ์
|
7. อาจารย์ธิราพร พัวเวส
|
8. อาจารย์ไพเราะ แสนสุรัตน์
|
9. อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ คุณลิขิต
|
บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 วันที่ 2 มีนาคม2555
อาจารย์ทุกท่านทำความตกลงให้เป็นที่เข้าใจตรงกันในการใช้ rubic score และวิธีการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล การคัดเลือกข้อมูลและ การนำข้อมูลมาวิเคราะห์ จัดแบ่งงาน
|
ผู้เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
1. อาจารย์เพลินสุข นิลโต คุณอำนวย
|
2. อาจารย์มาลี ชคัตประกาศ
|
3. อาจารย์กาญจนา อาชีพ
|
4. อาจารย์หนึ่งฤทัย โพธิ์ศรี
|
5. อาจารย์ศันสนีย์ รุ่งรัตน์ธวัชชัย
|
6. รศ.ทิพาพันธ์ สังฆะพงษ์
|
7. อาจารย์ธิราพร พัวเวส
|
8. อาจารย์ไพเราะ แสนสุรัตน์
|
9. อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ คุณลิขิต
|
บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3 วันที่ 8 มีนาคม2555
เชิญนักศึกษาที่เป็นกลุ่มทดลองใช้เครื่องมือ15คนมาประชุมร่วมเพื่อให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ นักศึกษาทั้งหมดมีความพึงพอใจมากรู้สึกว่าเก็บข้อมูลได้ตรงและเร็วขึ้น รู้ว่าจะเขียนอย่างไร แต่อยากให้ทำเป็นกรณีตัวอย่างให้ด้วยจะช่วยให้เข้าใจมากขึ้น ทางกลุ่มอาจารย์เห็นด้วยและขอบคุณนักศึกษาที่ให้ความร่วมมือ แต่การทำกรณี่ตัวอย่างคงจะไม่ทันในครั้งนี้ ขอให้เป็นฉพาะส่วนของการตรวจสุขภาพก่อน
|
ผู้เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
1. อาจารย์เพลินสุข นิลโต คุณอำนวย
|
2. อาจารย์มาลี ชคัตประกาศ
|
3. อาจารย์กาญจนา อาชีพ
|
4. อาจารย์หนึ่งฤทัย โพธิ์ศรี
|
5. อาจารย์ศันสนีย์ รุ่งรัตน์ธวัชชัย
|
6. รศ.ทิพาพันธ์ สังฆะพงษ์
|
7. อาจารย์ธิราพร พัวเวส
|
8. อาจารย์ไพเราะ แสนสุรัตน์
|
9. อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ คุณลิขิต
|
บันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 4 วันที่ 21มีนาคม 2555
อ.หนึ่งฤทัยรายงานผลการหาค่าความเที่ยงและความน่าเชื่อถือซึ่งอยู่ในเกณฑ์ยอมรับทั้ง2ค่า มีการรายงานแบบไม่เป็นทางการไปแล้วกับอาจารย์บางท่านเพราะนัดประชุมไม่ได้ อ.ธิราพร เสนอคู่มือที่ปรับล่าสุดและจะพิมพ์จำนวน120เล่มแจกนักศึกษา
|
ผู้เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
1. อาจารย์เพลินสุข นิลโต คุณอำนวย
|
2. อาจารย์มาลี ชคัตประกาศ
|
3. อาจารย์กาญจนา อาชีพ
|
4. อาจารย์หนึ่งฤทัย โพธิ์ศรี
|
5. อาจารย์ศันสนีย์ รุ่งรัตน์ธวัชชัย
|
6. รศ.ทิพาพันธ์ สังฆะพงษ์
|
7. อาจารย์ธิราพร พัวเวส
|
8. อาจารย์ไพเราะ แสนสุรัตน์
|
9. อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ คุณลิขิต
|
1.การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์รายบุคคล
ผู้บันทึก อาจารย์ มลฤดี โพธิ์พิจารย์ .
ความรู้ที่นำไปใช้ประโยชน์ : การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น และประสบการณ์ของคณาจารย์ ในกลุ่ม “๙ หน้า”
|
วิธีการนำไปใช้ประโยชน์ : การใช้วิธี story telling การแลกเปลี่ยนประสบการณ์และระดมสมอง โดยคุณอำนวยสร้างบรรยากาศความเป็นสุนทรียสนทนา โดยเปิดโอกาสให้อาจารย์ที่มีประสบการณ์น้อยที่สุดได้พูดก่อน มีการแลกเปลี่ยนความรู้และแสดงความคิดเห็น รวมทั้งมีการชื่นชมและให้กำลังใจซึ่งกันและกัน
|
ประโยชน์ที่ได้รับ (ความสำเร็จจากการใช้ความรู้) : ทำให้ทราบปัญหาของนักศึกษาเกี่ยวกับการขึ้นฝึกปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยและมีแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในหัวข้อเรื่อง อ่านออก บอกได้ ใช้เป็น เห็นชัด และในกลุ่มคณาจารย์ได้จัดทำคู่มือในการบันทึกข้อมูลและผลการตรวจร่างกายตามระบบ จำนวน 1 เล่ม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการนิเทศนักศึกษากลุ่ม Adult 1 และได้มีการพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอนในบทบาทของอาจารย์นิเทศที่มีประสิทธิภาพต่อไปในกลุ่ม Adult 2
|
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม (การค้นพบเทคนิค/วิธีการของความรู้เพิ่มเติม) :
|
2.บทเรียนที่ได้จากการนำความรู้ไปปฏิบัติและแบบปฏิบัติที่ดี
บทเรียนที่ได้จากการนำความรู้ไปปฏิบัติ (บันทึกเป็นภาพรวมของกลุ่ม) :
สมาชิกทุกคนในกลุ่มเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการความรู้และกระบวนการทำ เพราะมีส่วนร่วมทุกคน เมื่อคนไหนไม่เข้าใจส่วนไหนก็ช่วยกันอธิบายจนเข้าใจ ทุกคนเห็นประโยชน์ที่เกิดจากงานที่ร่วมกันทำ เกิดความสามัคคี
|
แบบปฏิบัติที่ดีที่ได้ (จากการนำความรู้ไปปฏิบัติแล้วนำกลับมาแลกเปลี่ยนเพื่อหาแบบปฏิบัติที่ดี) : จากการทำงานในครั้งนี้ทำให้เห็นความจริงที่ว่า “การเรียนรู้ที่แท้จริงคือการเรียนรู้ตลอดชีวิต “ เพราะเมื่อมีการประชุมกลุ่มทุกครั้งไม่ว่าจะเป็นการประชุมกันเองหรือมีนักศึกษาร่วมประชุมด้วย จะมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อนำไปใช้ทำต่อยอดได้เรื่อยๆ เป็นการพัฒนาต่อเนื่องได้หากจะทำต่อช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่แตกฉานทั้งผู้สอนและผู้เรียน เช่น นักศึกษาเสนอว่าอยากให้ทำเป็นกรณีตัวอย่าง ซึ่งอาจารย์จะต้องไปพัฒนาคู่มือเพิ่มในส่วนนี้เป็นต้น
|
ส่วนที่ 3 สรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1.การบรรลุตามปฏิทินการดำเนินงานของชุมชนนักปฏิบัติ
ลำดับ
|
กิจกรรม
|
ผลการดำเนินงาน
|
การบรรลุ
|
1
|
ดำเนินการจัดทำคู่มือการซักประวัติและตรวจร่างกาย
|
อาจารย์หนึ่งท่านรับไปทำตัวร่างคู่มือแล้วช่วยกันวิจารณืเสนอแนะ
|
อาจารย์นิเทศที่ขึ้นฝึกปฏิบัติบนหอผู้ป่วยได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์และ
มีแนวทางในการนิเทศนักศึกษาที่มีรูปแบบเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจนทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
|
2
|
ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับเทคนิคการจัดทำคู่มือในการนิเทศ
และการหาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือที่นำไปทดลองใช้
|
ได้มีการจัดทำคู่มือในการบันทึกข้อมูลและผลการตรวจร่างกายตามระบบ จำนวน 1 เล่ม
|
ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือที่นำไปทดลองใช้ได้เท่ากับ .76
|
3.
|
การนำคู่มือในการนิเทศไปทดลองใช้ในหอผู้ป่วยและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของนักศึกษาและคณาจารย์
ในกลุ่ม Adult 1
|
ได้มีการนำคู่มือการซักประวัติและตรวจร่างกายตามระบบมาใช้ในหอผู้ป่วยและหลังจากนั้นนักศึกษาที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างในแต่ละหอผู้ป่วยได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับอาจารย์นิเทศ
|
อาจารย์นิเทศได้ข้อคิดเห็นจากนักศึกษาและนำมาปรับปรุงพัฒนาคู่มือดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพต่อไป
|
4.
|
การตรวจและหาค่าคะแนนตาม Rubric score ในแบบฟอร์มซักประวัติและตรวจร่างกายของนักศึกษากลุ่ม Adult 1
|
|
|
5.
|
สรุปแนวทางการบันทึกข้อมูลและผลการตรวจร่างกายตามระบบที่นำไปใช้
|
|
อาจารย์นิเทศได้พัฒนาคู่มือดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพต่อไปในการขึ้นฝึกปฏิบัติงานกลุ่ม Adult 2
|
2.ช่องทางการแบ่งปันความรู้ของชุมชนนักปฏิบัติ
1 สนทนากับอาจารย์ผู้สอนสาขาวิชาอื่นที่มีบางส่วนของบทเรียนที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันเช่น การพยาบาลพื้นฐาน การรักษาโรคเบื้องต้น