หน้าแรก / การจัดการความรู้ / การจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 / กลุ่มบุคลากรสายวิชาการ / การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex : วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex : วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ

        
Views: 24
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 14 Oct, 2024
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
Updated: 04 Nov, 2024
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.

     มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาได้กาหนดนโยบายให้ทุกหน่วยงานดาเนินการจัดการความรู้เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาบุคลากร และยกระดับมหาวิทยาลัยสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยทุกหน่วยงานได้ดาเนินการจัดการความรู้ตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยกาหนด โดยวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชนจึงได้ดาเนินการจัดการความรู้ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเหมาะสมสอดคล้องกับนโยบายมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จึง ได้แต่งตั้งคณะทางานชุมชนนักปฏิบัติ (COP : Community of Practice) องค์ความรู้เรื่อง "การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex" ประจำปีงบประมาณ 2567 ซึ่งเป็นการรวมตัวของคณาจารย์ทุกหลักสูตรของวิทยาลัย ที่สนใจจะแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ในเรื่อง "การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex" ซึ่งตอบสนองตามยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นเอตทัคคะอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ด้านมหาวิทยาลัยมีการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม และสนับสนุนการสร้างคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอดคล้องตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย โดยกลุ่มมีสมาชิกจานวน 25 คน เป็นคณาจารย์สังกัด
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ประกอบด้วย 1) หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 2) หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3) หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์ 4) หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) 5) แขนงวิชาการจัดการธุรกิจพาณิชยนาวี 6) แขนงวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทาง
อากาศ 7) การจัดการโลจิสติกส์สาหรับธุรกิจออนไลน์ และ 8) การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ระบบการศึกษาทางไกล) โดยที่สมาชิกภายในกลุ่มได้ดาเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยกำหนด
      กลุ่มความรู้ การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex จึงได้จัดทำรายงานผลการดำเนินงานของกลุ่ม เพื่อสรุปผลการดำเนินงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดเก็บองค์ความรู้ให้เป็นลายลักษณ์อักษรและเป็นแนวทางให้บุคลากรสายวิชาการที่สนจใจนาไปใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex ต่อไป

Attached files
file KM-_Hyflex.pdf (1.87 mb)
Others in this Category
document การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex : คณะครุศาสตร์
document รูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบดิจิทัล HyFlex Learning : คณะวิทยาศาสตร์
document การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
document การจัดการเรียนรู้แบบ (Active Learning) : คณะวิทยาการจัดการ
document เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ
document การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 : คณะศิลปกรรมศาสตร์
document การส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการทำวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ : บัณฑิตวิทยาลัย
document การเรียนรู้ข้อมูลหลักสูตรเพื่อการแนะแนวรับสมัครนักศึกษายุคดิจิทัล : วิทยาลัยนวัตกรรมฯ
document การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำวิจัยเพื่อการเผยแพร่ทางวิชาการ : วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมฯ
document การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation Based Learning : SBL) : วิทยาลัยพยาบาลฯ
document รูปแบบการจัดการเรียนด้วยระบบ Hyflex Classroom : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การสร้างหลักสูตรระยะสั้นร่วมกับเครือข่าย : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การใช้ Project Based Learning เพื่อสนับสนุนการประกวดและได้รับรางวัลระดับชาติของนักศึกษาฯ : วิทยาลัยนิเทศศาสตร์
document รูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบดิจิทัล : วิทยาลัยการเมืองฯ
document การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ : โรงเรียนสาธิต
document การนำผลงานวิจัย งานนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชน : คณะครุศาสตร์
document การขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนด้วย BCG Model กับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) : คณะวิทยาศาสตร์ฯ
document การสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยที่อยู่ในอันดับ 1-1500 (QS Ranking) : คณะมนุษยศาสตร์ฯ
document รูปแบบการบริการวิชาการการวิจัยที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : คณะวิทยาการจัดการ
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้การตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ
document รูปแบบการบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ
document การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนจากแหล่งทุนภายนอก : คณะศิลปกรรมศาสตร์
document รูปแบบการจัดหารายได้จากการบริการวิชาการ : คณะศิลปกรรมศาสตร์
document รูปแบบการวิจัยและบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนที่ผ่านการสกัดความร ู้จากกลุ่มความรู้ : บัณฑิตวิทยาลัย
document การบูรณาการสร้างเครือข่ายบริการวิชาการเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การพัฒนาบท ความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : วิทยาลัยนวัตกรรมฯ
document การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ : วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมฯ
document แนวการสร้างรูปแบบการบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมฯ
document การจัดทำวารสารวิชาการเพื่อเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI : วิทยาลัยพยาบาลฯ
document การตีพิมพ์บทความวิชาการในวารสารในประเทศ และต่างประเทศที่อยู่ในฐานข้อมูลTCI และ SCOPUS : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : วิทยาลัยนิเทศศาสตร์
document การขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนด้วย BCG Model กับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) : วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ
document การพัฒนางานสร้างสรรค์สู่งานวิจัย : วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง : วิทยาลัยการเมืองฯ
document การสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยที่อยู่ในอันดับ 1 - 1500 (QS Ranking) : วิทยาลัยการเมืองฯ