การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation Based Learning : SBL) : วิทยาลัยพยาบาลฯ

        
Views: 19
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 14 Oct, 2024
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
Updated: 04 Nov, 2024
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.

       การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 เป็นการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นสร้างทักษะใหม่เพื่อให้สอดคล้อง กับสภาพสังคม ทั้งนี้ การจัดการเรียนการสอนทางด้านพยาบาล จึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับสิทธิผู้ป่วยและการเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ควบคู่กัน โดยการจัดการเรียนการสอนนั้น จะให้ความสำคัญกับการนำเทคโนโลยี นวัตกรรม สารสนเทศและการสื่อสาร มาผสมผสานให้เข้ากับการจัดการเรียนการสอนให้มากขึ้น โดยที่ผู้เรียนและผู้สอนนั้น ต้องพัฒนาทักษะและกระบวนการเรียนรู้ควบคู่กันไป

       วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพได้เล็งเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนการสอน ภายใต้องค์ความรู้ : การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและสนับสนุนให้นักศึกษา เป็นบัณฑิตและพยาบาลวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพ จึงได้มีนโยบายปรับปรุงและพัฒนาห้องปฏิบัติการพยาบาลเสมือนจริง (Simulation based learning) ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพรูปแบบการเรียนและการฝึกปฏิบัติการพยาบาลในห้องเรียนเสมือนจริงของอาจารย์พยาบาล เพื่อให้อาจารย์สามารถนำไปต่อยอดในการพัฒนาและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน โดยได้มีการจัดโครงการอบรมพัฒนาอาจารย์ เรื่อง การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation Based Learning : SBL) เพื่อให้กลุ่มวิชาการพยาบาล ได้นำไปใช้ในการทบทวนและเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาล เป็นการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 ในหลายด้าน อาทิ ทักษะความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ทักษะความคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา ทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี เป็นต้น พบว่านักศึกษามีความมั่นใจมากขึ้นเมื่อขึ้นฝึกปฏิบัติงานจริง เป็นการนำไปใช้อย่างเป็นรูปธรรม ลดความเสี่ยงในการปฏิบัติงานผิดพลาดอันก่อให้เกิดผลเสียต่อผู้รับบริการได้ นอกจากนั้นวิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพยังได้เผยแพร่ผลจากการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้สถาบันผลิตบุคลกรสายสุขภาพอื่นได้มาศึกษาดูงานเกี่ยวกับการจัดการศึกษาพยาบาล Simulation Based Learning : SBL เพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาห้องปฏิบัติการทางการพยาบาลของแต่ละสถาบันต่อไป

Attached files
file KM-Teaching.10.pdf (2.38 mb)
Others in this Category
document การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex : คณะครุศาสตร์
document รูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบดิจิทัล HyFlex Learning : คณะวิทยาศาสตร์
document การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
document การจัดการเรียนรู้แบบ (Active Learning) : คณะวิทยาการจัดการ
document เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ
document การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 : คณะศิลปกรรมศาสตร์
document การส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการทำวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ : บัณฑิตวิทยาลัย
document การเรียนรู้ข้อมูลหลักสูตรเพื่อการแนะแนวรับสมัครนักศึกษายุคดิจิทัล : วิทยาลัยนวัตกรรมฯ
document การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำวิจัยเพื่อการเผยแพร่ทางวิชาการ : วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมฯ
document รูปแบบการจัดการเรียนด้วยระบบ Hyflex Classroom : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การสร้างหลักสูตรระยะสั้นร่วมกับเครือข่าย : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การใช้ Project Based Learning เพื่อสนับสนุนการประกวดและได้รับรางวัลระดับชาติของนักศึกษาฯ : วิทยาลัยนิเทศศาสตร์
document การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex : วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ
document รูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบดิจิทัล : วิทยาลัยการเมืองฯ
document การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ : โรงเรียนสาธิต
document การนำผลงานวิจัย งานนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชน : คณะครุศาสตร์
document การขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนด้วย BCG Model กับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) : คณะวิทยาศาสตร์ฯ
document การสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยที่อยู่ในอันดับ 1-1500 (QS Ranking) : คณะมนุษยศาสตร์ฯ
document รูปแบบการบริการวิชาการการวิจัยที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : คณะวิทยาการจัดการ
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้การตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ
document รูปแบบการบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ
document การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนจากแหล่งทุนภายนอก : คณะศิลปกรรมศาสตร์
document รูปแบบการจัดหารายได้จากการบริการวิชาการ : คณะศิลปกรรมศาสตร์
document รูปแบบการวิจัยและบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนที่ผ่านการสกัดความร ู้จากกลุ่มความรู้ : บัณฑิตวิทยาลัย
document การบูรณาการสร้างเครือข่ายบริการวิชาการเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การพัฒนาบท ความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : วิทยาลัยนวัตกรรมฯ
document การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ : วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมฯ
document แนวการสร้างรูปแบบการบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมฯ
document การจัดทำวารสารวิชาการเพื่อเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI : วิทยาลัยพยาบาลฯ
document การตีพิมพ์บทความวิชาการในวารสารในประเทศ และต่างประเทศที่อยู่ในฐานข้อมูลTCI และ SCOPUS : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : วิทยาลัยนิเทศศาสตร์
document การขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนด้วย BCG Model กับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) : วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ
document การพัฒนางานสร้างสรรค์สู่งานวิจัย : วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง : วิทยาลัยการเมืองฯ
document การสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยที่อยู่ในอันดับ 1 - 1500 (QS Ranking) : วิทยาลัยการเมืองฯ