หน้าแรก / การจัดการความรู้ / การจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 / กลุ่มบุคลากรสายวิชาการ / การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

        
Views: 15
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 14 Oct, 2024
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
Updated: 04 Nov, 2024
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.

          รายงานผลการดำเนินงานฉบับนี้ จัดทำโดยกลุ่มการจัดการความรู้แผนที่ 1 การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ได้เล็งเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด ตลอดจนการผลิตบัณฑิตให้ตรงกับความต้องการของสังคมและตลาดแรงงาน คณะผู้จัดทำจึงเลือกและกำหนดหัวข้อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยได้รวบรวมองค์ความรู้ เทคนิควิธีรูปแบบต่างๆ ของสมาชิกในกลุ่ม โดยใช้กลไก และกระบวนการจัดการความรู้ ให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดี
         กลุ่มความรู้เรื่องการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เทคนิควิธี และรูปแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานที่ได้รวบรวมไว้ในรายงานผลฉบับนี้จะเป็นแนวทางสาหรับผู้ที่สนใจเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป
        

Attached files
file KM-Teaching.3.pdf (1016 kb)
Others in this Category
document การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex : คณะครุศาสตร์
document รูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบดิจิทัล HyFlex Learning : คณะวิทยาศาสตร์
document การจัดการเรียนรู้แบบ (Active Learning) : คณะวิทยาการจัดการ
document เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ
document การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 : คณะศิลปกรรมศาสตร์
document การส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในการทำวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ : บัณฑิตวิทยาลัย
document การเรียนรู้ข้อมูลหลักสูตรเพื่อการแนะแนวรับสมัครนักศึกษายุคดิจิทัล : วิทยาลัยนวัตกรรมฯ
document การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำวิจัยเพื่อการเผยแพร่ทางวิชาการ : วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมฯ
document การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation Based Learning : SBL) : วิทยาลัยพยาบาลฯ
document รูปแบบการจัดการเรียนด้วยระบบ Hyflex Classroom : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การสร้างหลักสูตรระยะสั้นร่วมกับเครือข่าย : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การใช้ Project Based Learning เพื่อสนับสนุนการประกวดและได้รับรางวัลระดับชาติของนักศึกษาฯ : วิทยาลัยนิเทศศาสตร์
document การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex : วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ
document รูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบดิจิทัล : วิทยาลัยการเมืองฯ
document การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ : โรงเรียนสาธิต
document การนำผลงานวิจัย งานนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชน : คณะครุศาสตร์
document การขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนด้วย BCG Model กับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) : คณะวิทยาศาสตร์ฯ
document การสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยที่อยู่ในอันดับ 1-1500 (QS Ranking) : คณะมนุษยศาสตร์ฯ
document รูปแบบการบริการวิชาการการวิจัยที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : คณะวิทยาการจัดการ
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้การตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ
document รูปแบบการบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ
document การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนจากแหล่งทุนภายนอก : คณะศิลปกรรมศาสตร์
document รูปแบบการจัดหารายได้จากการบริการวิชาการ : คณะศิลปกรรมศาสตร์
document รูปแบบการวิจัยและบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนที่ผ่านการสกัดความร ู้จากกลุ่มความรู้ : บัณฑิตวิทยาลัย
document การบูรณาการสร้างเครือข่ายบริการวิชาการเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การพัฒนาบท ความวิจัยเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : วิทยาลัยนวัตกรรมฯ
document การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ : วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมฯ
document แนวการสร้างรูปแบบการบริการวิชาการที่สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน : วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมฯ
document การจัดทำวารสารวิชาการเพื่อเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI : วิทยาลัยพยาบาลฯ
document การตีพิมพ์บทความวิชาการในวารสารในประเทศ และต่างประเทศที่อยู่ในฐานข้อมูลTCI และ SCOPUS : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ : วิทยาลัยนิเทศศาสตร์
document การขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนด้วย BCG Model กับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) : วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ
document การพัฒนางานสร้างสรรค์สู่งานวิจัย : วิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์
document การเขียนบทความวิจัยให้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง : วิทยาลัยการเมืองฯ
document การสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยที่อยู่ในอันดับ 1 - 1500 (QS Ranking) : วิทยาลัยการเมืองฯ