หน้าแรก / คลังความรูั / องค์ความรู้ปีงบประมาณ 2567 / กระบวนการพัฒนาระบบคลังหน่วยกิต (Credit bank System) ในรูปแบบ Web Application

กระบวนการพัฒนาระบบคลังหน่วยกิต (Credit bank System) ในรูปแบบ Web Application

        
Views: 31
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 13 Oct, 2024
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
Updated: 13 Oct, 2024
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.

         ในปี พ.ศ. 2565 ประเทศไทยได้ตระหนักถึงความสำคัญและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาบุคคลให้เป็น ผู้เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ระบบการเชื่อมโยงการศึกษาในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้เกิดฐานข้อมูล ขนาดใหม่ (Big Data) ผ่านคลังหน่วยกิตแห่งชาติ (National Credit Bank System : NCBS) ที่เชื่อมโยงระหว่าง ข้อมูลกระทรวงและสถานบันการศึกษา ดังนั้น กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตามกฎกระทรวงมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2565 พร้อม ทั้งออกประกาศฉบับใหม่เกี่ยวกับคลังหน่วยกิต เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์สังคมโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว  และเทียบเท่าระดับนานาชาติ  

          มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ได้ให้ความสำคัญกับนโยบายของกระทรวง อว. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ในรูปแบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) จึงด าเนินการออก ระเบียบมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษา ระบบคลังหน่วยกิต พ.ศ. 2565 และต้องด าเนินการผ่านระบบคลังหน่วยกิต (Credit Bank System) ของมหาวิทยาลัย โดยสอดคล้องกับแผนการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศการบริหารองค์กร ซึ่งการจัดการศึกษาระบบคลังหน่วยกิตเป็นบริหารจัดการโดยมีระบบคลังหน่วยกิตเป็นจุดศูนย์กลาง และดำเนินการผ่านหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การออกแบบระบบคลังหน่วยกิต เป็นไปตามระเบียบและนโยบายของมหาวิทยาลัย  ซึ่งในปีงบประมาณ 2566 กลุ่มความรู้ กลุ่มบริการการศึกษา ได้จัดกิจกรรมการจัดการความรู้และได้องค์ความรู้ เรื่อง การออกแบบกระบวนการคลังหน่วยกิต (CREDIT BANK) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จึงทำให้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กลุ่มความรู้กลุ่มบริการการศึกษา จึงได้ต่อยอดองค์ความรู้เดิมคือ กระบวนการคลังหน่วยกิต (CREDIT BANK) ที่ผ่านการออกแบบไว้จากกระบวนการจัดการความรู้ โดยนำกระบวนการคลังหน่วยกิต (CREDIT BANK) มาพัฒนาระบบคลังหน่วยกิต (Credit bank System)
ในรูปแบบ Web Application

Attached files
file 2567-KM_SHARE_CREDIT_BANK_SYSTEM.pdf (8.52 mb)
Others in this Category
document การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hyflex : คณะครุศาสตร์
document การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation Based Learning : SBL) : วิทยาลัยพยาบาลฯ
document รูปแบบการจัดการเรียนด้วยระบบ Hyflex Classroom : วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การสร้างหลักสูตรระยะสั้นร่วมกับเครือข่าย: วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
document การนำผลงานวิจัย งานนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชน : คณะครุศาสตร์
document การขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนด้วย BCG Model กับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) : วิทยาลัยโลจิสติกส์ฯ
document คู่มือการการออกแบบและพัฒนากระบวนการรับชำระเงินค่าธรรมเนียมการศึกษาผ่านระบบออนไลน ์ : กองคลัง
document การใช้งานระบบ AI ในการปฏิบัติงาน
document การจัดการนักศึกษาสัมพันธ์ (Student Relationship Management: SRM)
document เทคนิคการใช้ห้องเรียนแบบผสมผสาน (Hybrid Learning Classroom) เพื่อรองรับการเรียนการสอนรูปแบบใหม่
document Library Transform : Users Digitalization (แนวทางการส่งเสริมการรู้สารสนเทศดิจิทัลให้กับผู้ใช้บริการ)
document การสรุปผลการดำเนินงาน ให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้ Canva และGoogle Data Studio
document การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักศึกษาวิชาชีพครู
document รูปแบบการจัดหานักศึกษา
document การเผยแพร่สาระความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมในรูปแบบ Podcast
document การบริหารจัดการระบบการให้บริการสำหรับนักศึกษา
document การขับเคลื่อนด้วยข้อมูลเพื่อการบริหารหน่วยงานแบบร่วมมือโดยใช้จินตทัศน์ข้อมูล