การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

        
Views: 67
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 05 Oct, 2022
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
Updated: 05 Oct, 2022
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.

          การพัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้ มีลักษณะเป็นองค์ การแห่งการเรียนรู้อย่างสมํ่าเสมอ" รวมทั้งมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ ทุกหน่วยงานมีการดำ เนินการจัดการความรู้ โดยเน้นให้ เป็นเครื่องมือในการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้การดำเนินการจัดการความรู้ของวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชนเป็นไปด้วยความเหมาะสม สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาและนโยบายของมหาวิทยาลัย วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน จึงได้แต่งตั้งคณะทำงานชุมชนนักปฏิบัติ (COP : Community of Practice) องค์ความรู้เรื่อง "การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ" ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กลุ่มบุคลากรสายวิชาการขึ้นและได้ถอดบทเรียนเป็นรายงานสรุปผลการดำเนินงานการจัดการความรู้ โดยมีประเด็นความรู ทั้งหมด 5 ประเด็นความรู้ คือ 1) ความรู้เกี่ยวกับการเลือกวารสารที่ตรงกับศาสตร์การวิจัยด้านโลจิส ติกส์และซัพพลายเชน ทั้งวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ 2)ความรู้เกี่ยวกับการเลือกประเด็นงานวิจัยเพื่อนำไปสู่การตีพิมพ์ 3) ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบสำคัญและการลำดับองค์ประกอบ 4) ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการเขียนบทความวิจัยเพื่อดึงดูดผู้อ่าน 5) แนวทางการเขียนผลงานวิจัยเพื่อให้ได้รับตีพิมพ์

           จากองค์ความรู้ดังที่กล่าวไปข้างต้นกอใหเกิดประโยชนตอการพัฒนายกระดับขีดความสามารถบุคลากรสายวิชาการ ของวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปนอยางมาก ในการเขียนการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทำใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู และเกิดแนวปฏิบัติที่ดี ซึ่งเกิดจากการปรับใช้เครื่องมือการจัดการความรู้ (KM) ซึ่งทำใหทุกคนตระหนักถึงการเรียนรู้ มองเห็นคุณคาของความรูที่ตนเองมี และที่ร่วมกันสรางขึ้น อันจะสงผลใหองคกรไปสูองคกรแหงการเรียนรู และการจัดการความรูจะทำใหสมาชิกขององคกรทุกคนมีจิตสำนึกในการพัฒนาความรู ความสามารถของตนเอง และพัฒนากลุมบุคคลอยางตอเนื่อง อันจะสงผลใหองคกรมีความสามารถในเชิงพลวัตรสูงสุด

       รายละเอียดเพิ่มเติม ►

Others in this Category
document การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
document การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑