|
||
ปฏิเสธไม่ได้ว่า ความสาเร็จในทุกๆด้านมาจากการลงมือทา (Doing) การพัฒนาการศึกษาก็เช่นเดียวกัน ต้องมีกระบวนการเรียนการสอนที่ทันสมัยและเน้นการปฏิบัติมากขึ้น ดังนั้นการกิจกรรมในห้องเรียนถือเป็นเรื่องสาคัญมากในการสอนและการถ่ายทอดวิชาความรู้ทุกแขนง เนื่องจากผู้เรียนยุคใหม่ล้วนต้องการการถูกกระตุ้นด้วยวิธีการที่ทันสมัย เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถทุกด้านในการพัฒนาทักษะต่างๆของตนเอง ไม่ว่าจะเป็น การพูด การอธิบาย การวิเคราะห์ การนาเสนอ และการแสดงความคิดเห็น ดังนั้น ผู้สอนที่ต้องการจัดกิจกรรมในห้องเรียนหรือนากิจกรรมไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาต่างๆจึงควรรู้เทคนิควิธีการที่จะสามารถสร้างผลลัพธ์ในชั้นเรียนได้จริง ดังนี้ 1. ประเมินรายวิชาที่สอนและคัดเลือกประเด็นหรือเนื้อหามาประยุกต์ใช้ในรูปแบบของกิจกรรม การจัดกิจกรรมในห้องเรียนต้องคานึงถึงเนื้อหาที่สอนเป็นอันดับแรก เพื่อจะได้นาเนื้อหาที่จะสอนในแต่ละสัปดาห์มาจาแนกและประเมินว่าควรจะจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาในรูปแบบไหนได้บ้าง ขึ้นแรกผู้สอนต้องวางจุดประสงค์ไว้ล่วงหน้าว่าต้องการให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทักษะด้านไหน เช่น ต้องการให้นักศึกษาได้คิดหาคาตอบด้วยตัวเองแทนการรับฟังผู้สอนเพียงช่องทางเดียว เพื่อพัฒนาทักษะด้านการคิด ผู้สอนก็ต้องออกแบบกิจกรรมที่นักศึกษาต้องใช้ความคิด เช่น ในรายวิชา การเคลื่อนไหวในการแสดง(Movement in performance) ในครั้งแรกของการเรียนการสอน ผู้สอนต้องการวัดความเข้าใจนักศึกษาว่านักศึกษาทราบหรือไม่ว่าการเคลื่อนไหวร่างกาย (Movement) สาคัญอย่างไรกับการแสดง ผู้สอนก็จะเริ่มสร้างคาถามนาขึ้นมาก่อน เพื่อให้นักศึกษาทุกคนได้ลองตอบคาถาม ซึ่งการตอบคาถามเพียงอย่างเดียวไม่สามารถวัดความรู้ความเข้าใจได้ เพราะนักศึกษาอาจจะยังเข้าใจผิดอยู่ หรือไม่ก็ตอบตามเพื่อน ดังนั้นผู้สอนจึงเตรียมคิดรูปแบบกิจกรรมเพื่อทดสอบความเข้าใจนักศึกษา โดยวางกิจกรรมไว้ทีหลังการตอบคาถามของนักศึกษา เมื่อนักศึกษาทุกคนได้ตอบคาถามครบทุกคนแล้ว นักศึกษาจะได้ทดลองทากิจกรรมที่เกี่ยวกับคาถามข้างต้น โดยที่นักศึกษาต้องลองออกแบบการเคลื่อนไหวร่างกายที่ใช้กับการสื่อสารการแสดง เพื่อวัดผลความเข้าใจ และวัดว่าสิ่งที่ได้ทดลองทานั้นเป็นจริงอย่างคาตอบที่ได้ตอบมาหรือไม่ ในขั้นตอนการทดสอบนี้ นักศึกษาจะได้รับโจทย์ที่แตกต่างกัน ในโจทย์จะซ่อนความต้องการ (onjective) เอาไว้ หลังจากทุกคนทราบโจทย์ของตัวเอง ผู้สอนก็จะให้เวลานักศึกษาได้คิด ได้หาวิธีการนาเสนอ ในขั้นตอนนี้นักศึกษาแต่ละคนจะได้ฝึกฝนกระบวนการคิด ว่าจะแสดงออกอย่างไร จะใช้การเคลื่อนไหวร่างกายส่วนไหนในการสื่อสารให้เป็นไปตามโจทย์ที่ได้รับ หลังจากทุกคนได้นาเสนอการแสดงของตนเอง คนที่เหลือก็จะได้เรียนรู้ทักษะ วิธีคิด วิธีการแสดงออกของเพื่อนในชั้นด้วย ดังนั้น การจัดกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือทา(Doing) ได้ใช้ความคิด (Thinking) จึงเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้สนใจในบทเรียนตลอดเวลา เพราะต้องมีสมาธิตลอดเวลา 2. การออกแบบกิจกรรม |