หน้าแรก / การจัดการความรู้ / การจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 / วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ / กลุ่ม การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

กลุ่ม การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

        
Views: 310
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 10 Oct, 2018
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
Updated: 10 Oct, 2018
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.

       มหาวิทยาลัยได้กาหนดนโยบายให้ทุกหน่วยงานดาเนินการจัดการความรู้เพื่อเป็นเครื่องมือในการ
พัฒนาบุคลากรและยกระดับมหาวิทยาลัยสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยทุกหน่วยงานได้ดาเนินการจัดการ
ความรู้ตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยกาหนด กลุ่มความรู้การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เกิดจากการรวมตัวของคณาจารย์ท่สี นใจจะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเร่อื ง การพัฒนา
ศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งตอบสนองตามยุทธศสาตร์ที่ 1
พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นเอตทัคคะอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ด้านมหาวิทยาลัยมีการบูรณาการการจัดการ
เรียนการสอนที่ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์สอดคล้องตามอัตลักษณ์ของ
มหาวิทยาลัย สมาชิกกลุ่มประกอบด้วย คณาจารย์ของวิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ ประกอบด้วย 1)
สาขาวิชาการจัดการคุณภาพ 2) สาขาวิชารัฐศาสตร์ 3) สาขาวิชาสารสนเทศเพื่อการจัดการธุรกิจ 4)
สาขาวิชาการจัดการทุนมนุษย์ 5) สาขาวิชาการจัดการธุรกิจเพื่อการตลาด โดยกลุ่มการพัฒนาศักยภาพ
นักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ได้ดาเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามแนวทางที่
มหาวิทยาลัยกาหนด
      กลุ่มการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงจัดทา
รายงานผลการดาเนินงานการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
เพื่อสรุปผลการดาเนินงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดเก็บองค์ความรู้ให้เป็นลายลักษณ์อักษร และเป็นแนวทาง
ให้คณาจารย์ของวิทยาลัยฯ ที่สนใจนาไปใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ต่อไป

กลุ่มความรู้ได้ดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามกระบวนการการ KM 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การกำหนดองค์ความรู้หลักที่จำเป็นหรือสำคัญต่องานหรือกิจกรรมของหน่วยงาน และกำหนดเป้าหมายของการจัดการความรู้ 2) การเสาะแสวงหาความรู้ที่ต้องการ 3) การปรับปรุง ดัดแปลง ความรู้บางส่วนให้เหมาะสมต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน 4) การนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้มาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง 5) การนำประสบการณ์จากการทำงาน และการประยุกต์ใช้ความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสกัดออกมาเป็นขุมความรู้ 6) การรวบรวมความรู้และจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร

 องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คือ การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

Attached files
file Teaching_181010153653.pdf (832 kb)
Others in this Category
document กลุ่มการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย