1. ความรู้ที่ได้และการกลั่นกรองความรู้
ความรู้ที่ได้ รูปแบบการจัดการสอนแบบ Active Learning 7 รูปแบบ ได้แก่
1.1) การจัดการเรียนรู้รูปแบบผสมผสาน (Blended Learning)
1.2) การจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creative Based Learning)
1.3) การจัดการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐาน (Research Based Learning)
1.4) การจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1.5) การจัดการเรียนรู้แบบสอนงานระบบพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring)
1.6) การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน/โครงการ (Project Based Learning)
1.7) การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning)
ผ่านการกลั่นกรองจาก
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ อาจารย์ประจำภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
- อาจารย์ ดร.วรรณพร สุขอนันต์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ ช่วยราชการหน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บันทึกและจัดเก็บอยู่ที่
- คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- วิทยาลัยการภาพยนตร์ ศิลปะการแสดง และสื่อใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
- กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
2. ประโยชน์ขององค์ความรู้และการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางาน
1) ประโยชน์ขององค์ความรู้
- สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการเขียน มคอ.3
- สามารถนำวิธีการไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับรายวิชาและผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการ
- พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ในด้านทักษะการเรียนรู้ การแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างเป็นระบบ
2) การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางาน
2.1) มีการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายตรงกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
2.2) ใช้เป็นนวัตกรรมในการแก้ปัญหาผู้เรียน
3) การขยายผลการนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
- เผยแพร่สู่อาจารย์ภายในมหาวิทยาลัยและผู้ที่สนใจ
- การต่อยอดองค์ความรู้ของกลุ่ม KM
3. สรุปการดำเนินการจัดการความรู้ของกลุ่มความรู้
1) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
- ความร่วมมือของสมาชิกในกลุ่ม
- มีผู้นำและผู้ตามที่ดี
- มีระบบการติดตามงานที่ดี
- มีการสร้างขวัญและกำลังใจ
- มีบุคลากรและผู้ทรงคุณวุฒิให้ความช่วยเหลือ
- มีสื่อและเทคโนโลยีในการสนับสนุน
2) ปัญหาและอุปสรรค
- ช่วงเวลาในการจัดประชุมไม่ตรงกัน
- อาจารย์มีภาระงานมาก
- ช่วงเวลาที่แลกเปลี่ยนกลุ่มย่อยน้อย
4. การต่อยอดองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่เกิดขึ้น
- พัฒนานวัตกรรมของผู้เรียนและผู้สอนสู่การนำไปใช้ประโยชน์
- ผลงานวิจัยในชั้นเรียน