หน้าแรก / การจัดการความรู้ / การจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 / วิทยาลัยนานาชาติ / Go Published / คู่มือแนวทางในการคัดเลือกแหล่งเผยแพร่งานวิจัยในวารสารและงานประชุมนานาชาติ

คู่มือแนวทางในการคัดเลือกแหล่งเผยแพร่งานวิจัยในวารสารและงานประชุมนานาชาติ

        
Views: 1664
Votes: 437
Comments: 7
Posted: 10 Jun, 2015
by: คุณะสารพันธ์ อ.ว.
Updated: 17 Jul, 2015
by: คุณะสารพันธ์ อ.ว.
Showing: 1-7 of 7  
Comments
27 Jul, 2015   |  nokkanok2010
ได้อ่านคู่มือแล้ว และได้ลอง search ชื่อของวารสารในฐาน SJR,และ Scopus แล้ว แต่ก็แปลกใจนะคะว่า ทำไมวารสารบางชื่อถึงแม้จะอยู่ในฐานที่ดี เช่น Scopus แต่ก็ยังคิดค่าดำเนินการด้วย ในขณะที่วารสารบางชื่อไม่ต้องเสียค่าดำเนินการ แต่ส่วนตัวแล้ว อยากจะลองส่งบทความไปตีพิมพ์ในวารสารที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายก่อนค่ะ เพราะน่าจะภูมิใจมากกว่าถ้าได้รับการตอบรับ

27 Jul, 2015   |  luanisarat
ขอเสนอแนะว่าถ้าเป็นไปได้ อยากให้มีการอัพเดตเนื้อหาในคู่มือไปเรื่อยๆหรือทำต่อเนื่องไปตลอด เพราะจะทำให้คู่มือนี้ใหม่สดเสมอ และสามารถนำไปใช้ได้ตลอดค่ะ

26 Jul, 2015   |  sathita2010
ขอแนะนำ website สำหรับการค้นหางานประชุมวิชาการอีก website นึงค่ะ ชื่อว่า http://lanyrd.com/conferences/ แต่อย่างไรก็ตามก็ควร ตรวจสอบชื่อของวารสารที่ให้การสนับสนุนการตีพิมพ์ใน conference นั้นด้วยค่ะ ว่าอยู่ในฐานข้อมูลที่ได้รับการรับรองคุณภาพหรือไม่

26 Jul, 2015   |  raweewan
อีกอย่างที่ควรระวังเกี่ยวกับวารสารที่ควรหลีกเลี่ยงในการส่งบทความ คือ วารสารบางแห่งได้ตั้งชื่อให้คล้ายกับวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูลที่มีคุณภาพมากๆ และทำหน้า website ที่คล้ายกันด้วย ซึ่งถ้าหากมองผิวเผิน ก็อาจไม่รู้เลยก็ได้ค่ะว่า วารสารฉบับไหนเป็นของจริง เพราะฉะนั้น ขอแนะนำนะคะว่าควรตรวจสอบที่เลข ISSN ค่ะ

26 Jul, 2015   |  mamyberries
ตัวเองก็เคยได้รับการติดต่อจากวารสารหนึ่ง เพื่อให้ส่งบทความไปตีพิมพ์เหมือนกันค่ะ ก็รู้สึกว่า วารสารนี้คงจะไม่ค่อยมีคุณภาพ เพราะเคยได้ยินมาว่าการส่งบทความตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการยากมาก เพราะมีขั้นตอนในการ review ที่เข้มงวด และนาน บางทีนานหลายเดือน ก็เลยลองหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวารสารฉบับนั้น ก็พบว่าจะต้องจ่ายเงินค่าตีพิมพ์เป็นจำนวนมาก อีกทั้งวารสารนั้นยังไม่อยู่ในฐานข้อมูลที่ได้รับการรับรองคุณภาพด้วย

26 Jul, 2015   |  pookyyanakorn
ลองอ่านในคู่มือแล้ว รู้สึกสนใจเรื่องสำนักพิมพ์ผู้ล่าเหยื่อมากค่ะ เพราะเคยมีคนส่งอีเมล์มาโดยบอกว่ามาจากวารสารฉบับหนึ่ง และแจ้งต้องการตีพิมพ์บทความวิจัยของดิฉัน ดิฉันก็แปลกใจมาก เพราะรู้สึกว่า ทำไมการตีพิมพ์ในวารสารมันถึงง่ายจัง ทั้งที่เคยได้ยินว่ามันยากมากกว่าจะได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ ดิฉันก็เลยลองสอบถามอาจารย์ท่านหนึ่งว่าควรจะอนุญาตให้วารสารนั้นตีพิมพ์บทความหรือไ ม่ อาจารย์ก็เลยแนะนำว่าให้ตรวจสอบจาก Beall's list ก่อนค่ะ ถ้าอยู่ใน list ก็ไม่ควรลงเลย

20 Jul, 2015   |  awongchairat
คู่มืออ่านง่าย มีประโยชน์มากสำหรับผู้ที่สนใจ

Others in this Category
document ความเป็นมาของกลุ่ม Go Published
document สมาชิกในกลุ่ม Go Published
document กิจกรรมที่ 1 การบ่งชี้ความรู้
document กิจกรรมที่ 2 การสร้างและแสวงหาความรู้
document กิจกรรมที่ 3 การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ
document กิจกรรมที่ 4 การประมวลและกลั่นกรองความรู้
document กิจกรรมที่ 5 การเข้าถึงความรู้
document กิจกรรมที่ 6 การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้
document กิจกรรมที่ 7 การเรียนรู้
document องค์ความรู้ที่ได้และการนำไปใช้ประโยชน์
document การต่อยอดองค์ความรู้สู่งานวิจัย หรือนวัตกรรม