ความเป็นมาของชุมชนนักปฏิบัติ (กลุ่มความรู้)

        
Views: 540
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 08 May, 2015
by: สหนาวิน น.ว.
Updated: 08 May, 2015
by: สหนาวิน น.ว.

       

               นับตั้งแต่มีการดำเนินการก่อตั้งคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี รวมถึงกิจกรรมต่างๆ และการดำเนินการส่งเสริมการเรียนการสอนแก่นักศึกษานั้นจำเป็น จะต้องสร้างความแตกต่างให้กับนักศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ ความสามารถและโอกาสในการแข่งขันให้กับ นักศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาจึงได้มีนโยบายและยุทธศาสตร์สำคัญของ ปี พ.ศ. 2558 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมแผนการจัดการความรู้ (KM)   ใน ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนและคุณภาพบัณฑิตตามอัตลักษณ์ของสวนสุนันทา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินการตามยุทธศาสตร์นี้ ได้คำนึงถึง อัตลักษณ์กับความรับผิดชอบต่อสังคม

          ในกิจกรรมการจัดการความรู้ (KM)   ประจำปี 2558 เพื่อการพัฒนานักศึกษาตามแบบแผนอัตลักษณ์ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทากำหนดไว้คือ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชานาญการคิด มีจิตสาธารณะ(Professional  practitioners,  academic  excellence,     intelligent communicators, and strategic thinkers with public awareness)  ด้วยเหตุดังกล่าวนี้จึงก่อให้เกิดกลุ่มความรู้  "อัตลักษณ์กับความรับผิดชอบต่อสังคม" เพื่อให้มีการดำเนินการจัดการความรู้ดังกล่าวขึ้น

Others in this Category
document คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้แผนที่ ๓ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
document การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๓
document แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๓ อัตลักษณ์กับความรับผิดชอบต่อสังคม
document สมาชิกชุมชนนักปฏิบัติและบทบาทหน้าที่ของสมาชิก
document การบ่งชี้ความรู้
document การสร้างและแสวงหาความรู้
document การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ VS การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้
document การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ 'อัตลักษณ์กับความรับผิดชอบต่อสังคม"