1. ความเป็นมาของชุมชนนักปฏิบัติและสมาชิกกลุ่ม

        
Views: 570
Votes: 3
Comments: 0
Posted: 10 Feb, 2015
by: ภสกทวีลาภ น.ส.
Updated: 27 Jul, 2015
by: ภสกทวีลาภ น.ส.
ความเป็นมาของชุมชนนักปฏิบัติ

          เนื่องจากสสสร. เป็นหน่วยงานที่ถูกจัดตั้งขึ้นมาเพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์และพันธกิจของมหาวิทยาลัย ในการพัฒนาศักยภาพเพื่อการแข่งขันและสนองตอบความต้องการของสังคม และในขณะนี้มหาวิทยาลัยยังมีความตื่นตัวในเรื่องการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งถือว่ามีความสำคัญเพราะมีผลกระทบต่อทุกภาคส่วนรวมถึงภาคการศึกษาด้วย “ภาษาที่ใช้ในการทำงานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ” ตามที่ได้กล่าวข้างต้นก็ยังมีปัญหาหลาย ๆ ประการ กล่าวคือ คณาจารย์และบุคลากรบางส่วนยังมีความต้องการในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการใช้ภาษาอังกฤษ สสสร.จึงได้จัดทำแผนการจัดการความรู้ แผนที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีคุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล อันมีองค์ความรู้ที่สำคัญคือ การพัฒนาคู่มือการปฏิบัติงานการอบรมภาษาอังกฤษ รวมถึงจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ โดยมีการประชาสัมพันธ์ไปยังคณาจารย์และบุคลากร ที่สนใจและมีปัญหาในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดตั้งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาภาษาอังกฤษด้วยกัน เนื้อหาในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้รวบรวมจากปัญหาที่พบบ่อยในการปฏิบัติงาน อาทิเช่น การออกเสียงภาษาอังกฤษที่ถูกต้องชัดเจน การทักทายแนะนำตัวเมื่อพบกัน การกล่าวลาเมื่อจากกัน การรับโทรศัพท์ การบอกทาง ดูหนัง ฟังเพลง เพื่อให้ชุมชนนักปฏิบัติมีพื้นฐานที่ดีในการใช้ภาษาอังกฤษและสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จ

สมาชิกกลุ่ม

          กลุ่มงาน

ชื่อ – สกุล

ตำแหน่ง

งานบริหาร

1. นายธนาคม พจนาพิทักษ์

2. นางสาวพัทธนันท์ ชัยบุตร

3. นายอธิชา แขวงโสภา

ผู้อำนวยการ สสสร.

รองฯ ฝ่ายวิชาการ วิจัยฯ

รองฯ ฝ่ายบริหารฯ

งานบริการวิชาการ

2.นางสาวสุชาดา ตันประทุมวงษ์

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

งานพัสดุ

3.นางสาวสโรชา บินอับดุลเลาะ

เจ้าหน้าที่พัสดุ

งานนโยบายและแผน

4.นายวุฒิชัย  ปิ่นเงิน

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

งานธุรการ

5.นางสาวเกศินี  ศรีสมบัติ

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

งานฝึกอบรม

6.นายสุพพัต เสกทวีลาภ

7.ว่าที่ร.ต.หญิงหนึ่งฤทัย สนั่นรัมย์

นักวิชาการคอมพิวเตอร์

นักวิชาการคอมพิวเตอร์

Others in this Category
document 2. แผนการจัดการความรู้หน่วยงาน
document 3. กิจกรรมที่ 1 : การบ่งชี้ความรู้
document 4. กิจกรรมที่ 2 : การสร้างและแสวงหาความรู้
document 5. กิจกรรมที่ 3 : การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ
document 6. กิจกรรมที่ 4 : การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้
document 7. กิจกรรมที่ 5 : การเข้าถึงความรู้
document 8. กิจกรรมที่ 6 : การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
document 9. กิจกรรมที่ 7 : การเรียนรู้
document 12. องค์ความรู้ที่ได้และการนำไปใช้ประโยชน์
document 10. คู่มือเทคนิคการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้วยตนเองผ่านโปรแกรม Speexx
document 11. คู่มือการลงทะเบียนอบรมและตรวจสอบรอบอบรม
document 13. การต่อยอดองค์ความรู้สู่งานวิจัยและนวัตกรรม