หน้าแรก / การจัดการความรู้ / การจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ 2557 / สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ / ห้องสมุดมีชีวิต / การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ : โครงการและกิจกรรมส่งเสริมห้องสมุดมีชีวิต

การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ : โครงการและกิจกรรมส่งเสริมห้องสมุดมีชีวิต

        
Views: 1561
Votes: 628
Comments: 8
Posted: 30 Jul, 2014
by: ภอกฉัตร น.ส.
Updated: 08 Aug, 2014
by: ภอกฉัตร น.ส.

Attached files
file LivingLibraryReport06.pdf (67 kb)
Showing: 1-8 of 8  
Comments
13 Aug, 2014   |  apichad.bu
หลังจากที่ได้ไปศึกษาดูงานที่สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ทำให้ผมเกิดความคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับแนวทางการจัดกิจกรรมในห้องสมุด ซึ่งต่อมา ทำให้ผมเกิดความคิดเชิงสังเคราะห์ที่จะทำกิจกรรมเกมเศรษฐีสวนสุนันทา ภายใต้โครงการสัปดาห์หอจดหมายเหตุสวนสุนันทาที่มีความแปลกใหม่ และสามารถดึงดูดใจของผู้ใช้บริการ ภายใต้แนวคิดที่ว่า ความบันเทิงบนสาระ ซึ่งมีรูปแบบเกมการแข่งขันที่เหมือนกับรายการเกมเศรษฐีของคุณไตรภพ ลิมปพัทธ์ ทางช่อง 3 ทั้งนี้ มั่นใจว่า บุคลากรของศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มีความคิด ความฝัน ที่จะจัดกิจกรรมที่แปลกใหม่ อันจะทำให้ส่งเสริมความเป็นห้องสมุดมีชีวิต ในปัจจัยด้านกิจกรรมมากยิ่งขึ้นครับ

07 Aug, 2014   |  nikom.ar
โครงการและกิจกรรมต่างๆ ที่หลากหลายเป็นการกระตุ้นให้เป็นห้องสมุดมีชีวิตได้ดี เพราะทำให้ผู้ใช้บริการหลายกลุ่มได้เข้ามาใช้บริการมากขึ้น

04 Aug, 2014   |  varunee.ak
ทุกกิจกรรมมีความท้าทายน่านำมาปฏิบัติจริง คาดว่าคงจะสร้างความสุขและความพึงพอใจกับผู้ใช้บริการ

04 Aug, 2014   |  apichad.bu
จากการรับฟังการนำเสนอโครงการฯ ผมเห็นว่าทุกโครงการที่สมาชิกของกลุ่มได้นำเสนอ เป็นโครงการที่น่าสนใจ และผมเชื่อว่า ทุกโครงการ และทุกอย่างที่เราอยากจะทำ เราสามารถที่จะหาแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้ความคิด ความฝันของเราเป็นจริงได้ครับ ขอเป็นกำลังให้ทุกโครงการไม่ว่าจะผ่านหรือไม่ผ่าน หรือโครงการในอนาคต สามารถเกิดขึ้นจริงได้ ด้วยเหตุเพราะบุคลากรของศูนย์วิทยบริการ มีความเข้าใจ ความรู้ ความคิดเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์ และที่สำคัญคือ ความฝันเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาความเป็นห้องสมุดมีชีวิต ของศูนย์วิทยบริการฯ ซึ่งจะเป็นก้าวแรกของการพัฒนาแนวทางปฏิบัติต่อไปครับ

01 Aug, 2014   |  somjai.ru
กิจกรรมทุกกิจกรรมแป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์สำหรับการเป็นห้องสมุดมีชีวิต แต่บางกิจกรรมอาจเป็นกิจกรรมที่ยุ่งยากอาจดูเหมือนจะต้องมีการปรับปรุงในหลายๆอย่างอ าจจะยังไม่พร้อมในตอนนี้

01 Aug, 2014   |  Supaporn.Wo
แนวความคิดที่สมาชิกนำเสนอมาหลายๆแนวคิด เป็นแนวคิดที่น่าสนใจ ทั้งนี้ ยังต้องอยู่ในดุลยพินิจของผู้บริหาร ซึ่งจะเป็นจริงหรือไม่อาจต้องผ่านการพิจารณาและการจัดสรรด้านงบประมาณ จากการอภิปรายและขอความคิดเห็นจากสมาชิกกลุ่มและผู้รับผิดชอบการดำเนินงานนั้น จึงเหลือแนวคิดเท่าที่จะเป็นไปได้ และอาจมีการนำไปพิจารณาจัดทำเพิ่มเติมในอนาคต

01 Aug, 2014   |  juju
จากการประชุมให้ดำเนินกิจกรรม จำนวน 6 แผน ที่ผ่าน ที่ไม่ผ่าน 2 แผน แผนที่ผ่าน 1. โครงการบริการรถเข็นหนังสือ 2. โครงการจัดแสดงดนตรี 3. โครงการขยายระยะเวลาในการยืมหนังสือ 4. โครงการยืมหนังสือได้ไม่จำกัด 5. โครงการให้ยืมกระเป๋าผ้าใส่หนังสือ 6. โครงการจัดทำป้ายต่าง ๆ ที่ไมผ่าน 2 แผน 1. โครงการแจ้งสถานะการใช้งานสื่อสารสนเทศผ่านเครื่องประชาสัมพันธ์ 2. โครงการปรับปรุงระบบการวิเคราะห์หนังสือ ประเภท ว.จ และ ว.พ

01 Aug, 2014   |  vasinee.sr
จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการนำเสนอแผนการดำเนินการห้องสมุด ผู้ Comment เห็นว่าการให้บริการที่เสนอบางอย่างมีขั้นตอนการบริการที่ยุ่งยากไป ถ้าเราจะตัดทอนบางอย่างลงบ้าง ความสุขกับความพึงพอใจจะมีมากขึ้น

Others in this Category
document ประวัติและความเป็นมาของกลุ่มจัดการความรู้ "ห้องสมุดมีชีวิต"
document แผนการดำเนินงาน
document การบ่งชี้ความรู้ : ความหมายของห้องสมุดมีชีวิต
document การสร้างและแสวงหาความรู้ : ลักษณะของห้องสมุดมีชีวิต
document การสร้างและแสวงหาความรู้ : ลักษณะของห้องสมุดมีชีวิตจากการศึกษาดูงาน
document การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ : ห้องสมุดมีชิวิตกับการประยุกต์ใช้ในสวนสุนันทา
document โครงการปรับปรุงระบบการวิเคราะห์หนังสือประเภทปริญญานิพนธ์ และ วิทยานิพนธ์
document โครงการ บริการยืมหนังสือไม่จำกัด
document โครงการ กิจกรรมการแสดงดนตรี
document โครงการจัดทำป้ายสัญลักษณ์เพื่อส่งเสริมแหล่งเรียนรู้ห้องสมุดมีชีวิต
document โครงการบริการยืมกระเป๋ากลับบ้าน (Bag 2 Back)
document โครงการบริการรถเข็นอเนกประสงค์ (ช้อปกระจาย)
document โครงการขนหนังสือกลับบ้านช่วงปิดเทอม
document การเข้าถึงความรู้ : รูปแบบของการเป็นห้องสมุดมีชีวิต
document การเรียนรู้ ห้องสมุดมีชีวิต
document การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
document เอกสารเผยแพร่กลุ่มความรู้ห้องสมุดมีชีวิต
document การนำความรู้ไปใช้ประโยนช์
document ความรู้ที่ได้และการกลั่นกรองความรู้
document รายงานผลการดำเนินงานของกลุ่มความรู้ "ห้องสมุดมีชีวิต"