หน้าแรก / การจัดการความรู้ / การจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ 2557 / สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ / ห้องสมุดมีชีวิต / การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ : ห้องสมุดมีชิวิตกับการประยุกต์ใช้ในสวนสุนันทา

การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ : ห้องสมุดมีชิวิตกับการประยุกต์ใช้ในสวนสุนันทา

        
Views: 1823
Votes: 636
Comments: 9
Posted: 30 Jul, 2014
by: ภอกฉัตร น.ส.
Updated: 08 Aug, 2014
by: ภอกฉัตร น.ส.

Attached files
file KM__5_2557.pdf (92 kb)
Showing: 1-9 of 9  
Comments
07 Aug, 2014   |  nikom.ar
การนำสิ่งดี ๆ จากพี่น้องห้องสมุดต่างสถาบันกัน แต่มีใจรักในงานให้บริการเหมือนกัน การนำข้อดีมาประยุกต์และปรับให้เหมาะสมกับสถานที่ ถือเป็นการพัฒนาแนวคิดการทำห้องสมุดมีชีวิตได้ดีครับ

05 Aug, 2014   |  somjai.ru
จากการศึกษาดูงาน คิดว่าบางอย่างเราควรจะนำมาปฏิบัติในศูนย์วิทยบริการของเรา เพราะอาจเป็นการสะดวกสบายต่อผู้ที่เข้ามาใช้บริการ

04 Aug, 2014   |  varunee.ak
ในส่วนที่จะนำมาปรับใช้กับห้องสมุดสวนสุนันทาของเรานั้น ก็มีหลายอย่าง เช่น มุมแนะนำหนังสือใหม่ สามรถยืมได้ ก็น่าสนใจ

04 Aug, 2014   |  apichad.bu
การจัดการความรู้หัวข้อสมุดมีชีวิต ทำให้สมาชิกของกลุ่มรู้จักคิดเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวทางการพัฒนาความเป็นห้อง สมุดมีชีวิต แต่ก็อย่างที่บอกครับ การจะนำเอาวิธีคิดและวิธีปฏิบัติของห้องสมุดตัวอย่าง มาใช้พัฒนาความเป็นห้องสมุดมีชีวิตของศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จะต้องผ่านขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อดี ข้อด้อยของวิธีการก่อน เพราะ มีหลายขั้นตอนของห้องสมุดตัวอย่าง ที่ผมมองว่า ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเราดีกว่าเขา และมีอีกหลายขั้นตอนของห้องสมุดตัวอย่่าง ที่เราควรเลียนแบบเขา และมีอีกหลายขั้นตอน ที่เราจะต้องรู้จัดคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวทางการดำเนินงานห้องสมุดที่เป็นนวัต กรรม เพื่อให้มีความสมเชิงประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และบริบทความเป็นห้องสมุดมีชีวิตของศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครับ

04 Aug, 2014   |  ratchanok
ห้องสมุดทั้ง 4 แห่ง มีการดำเนินงานด้านห้องสมุดมีชีวิตมานานพอสมควรทำให้แนวทางและประสบการณ์ในการทำงานท ี่ค่อนข้างชัดเจน โดยเฉพาะ sk park ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ได้รับความสนับสนุนจากหลายแห่ง ทำให้การจัดการห้องสมุดมีความหลากหลายทั้งทางด้านกิจกรรมและบุคลากร และมีหลายกิจกรรมที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับสวนสุนันทาได้

01 Aug, 2014   |  Supaporn.Wo
โดยส่วนตัวแล้วสนใจการจัดสถานที่แบบ ม.บูรพา คือการรวมหนังสือทุกประเภทในสาขาวิชาเดียวกันจัดไว้ด้วยกัน โดยแบ่งสถานที่ตามชั้นต่างๆ ของห้องสมุด เช่นหนังสือวิชาการ หนังสือทั่วไป สารคดี วิทยานิพนธ์ พจนานุกรม เป็นต้น โดยนักศึกษาในสาขาวิชานั้นๆ สามารถมาใช้บริการที่จุดเดียวครบทุกความต้องการด้านวิชาการ นอกจากนี้จะเป็นประโยชน์แก่ห้องสมุดเองในการจัดบริการให้ตรงกับความสนใจของนักศึกษาส าขาวิชานั้นๆ อีกด้วย

01 Aug, 2014   |  juju
การแลกเปลี่ยนความรู้ที่ได้จากการไปศึกษาดูงาน อีกทั้งยังให้นำเสนอกิจกรรมหรือบริการต่างๆ ที่คาดว่าน่าจะนำมาประยุกต์กับห้องสมุดสวนสุนันทาไดเพื่อการพัฒนาสู่การเป็นห้องสมุด มีชีวิต

01 Aug, 2014   |  lek
จากการที่ได้ศึกษาดูงานจากหน่วยงานภายนอก เราก็นำความรู้ที่ได้รับมาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและปรับใช้กับศูนย์วิทยบริการของเร า โดยทำการคัดเลือกจิกกรรมโครงการต่างๆ ที่เป็นประโยชน์และน่าสนใจและศูนย์วิทยบริการของเรายังไม่เคยจัดทำมาก่อน ก็นำมาปรับใช้กับศูนย์วิทยบริการของเรา เพื่อเป็นการสร้างห้องสมุดให้มีชีวิต

01 Aug, 2014   |  vasinee.sr
การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ ทั้ง 4 ด้านยังมีบางส่วนที่ผู้ Comment เห็นว่าด้านบุคลากรเรายังขาดไปส่วนหนึ่งนะบุคลากรจะมีความรู้ความสามารถในงานที่ปฏิบ ัติยังไม่พอ ยังต้องมีจิตบริการด้วย

Others in this Category
document ประวัติและความเป็นมาของกลุ่มจัดการความรู้ "ห้องสมุดมีชีวิต"
document แผนการดำเนินงาน
document การบ่งชี้ความรู้ : ความหมายของห้องสมุดมีชีวิต
document การสร้างและแสวงหาความรู้ : ลักษณะของห้องสมุดมีชีวิต
document การสร้างและแสวงหาความรู้ : ลักษณะของห้องสมุดมีชีวิตจากการศึกษาดูงาน
document การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ : โครงการและกิจกรรมส่งเสริมห้องสมุดมีชีวิต
document โครงการปรับปรุงระบบการวิเคราะห์หนังสือประเภทปริญญานิพนธ์ และ วิทยานิพนธ์
document โครงการ บริการยืมหนังสือไม่จำกัด
document โครงการ กิจกรรมการแสดงดนตรี
document โครงการจัดทำป้ายสัญลักษณ์เพื่อส่งเสริมแหล่งเรียนรู้ห้องสมุดมีชีวิต
document โครงการบริการยืมกระเป๋ากลับบ้าน (Bag 2 Back)
document โครงการบริการรถเข็นอเนกประสงค์ (ช้อปกระจาย)
document โครงการขนหนังสือกลับบ้านช่วงปิดเทอม
document การเข้าถึงความรู้ : รูปแบบของการเป็นห้องสมุดมีชีวิต
document การเรียนรู้ ห้องสมุดมีชีวิต
document การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
document เอกสารเผยแพร่กลุ่มความรู้ห้องสมุดมีชีวิต
document การนำความรู้ไปใช้ประโยนช์
document ความรู้ที่ได้และการกลั่นกรองความรู้
document รายงานผลการดำเนินงานของกลุ่มความรู้ "ห้องสมุดมีชีวิต"