การสร้างและแสวงหาความรู้ : ลักษณะของห้องสมุดมีชีวิต

        
Views: 1703
Votes: 624
Comments: 7
Posted: 30 Jul, 2014
by: ภอกฉัตร น.ส.
Updated: 30 Jul, 2014
by: ภอกฉัตร น.ส.

Attached files
file LivingLibraryReport04.pdf (69 kb)
Showing: 1-7 of 7  
Comments
07 Aug, 2014   |  nikom.ar
ห้องสมุดมีชีวิตในความคิดของสมาชิกกลุ่ม การเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ ให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้หลากหลายช่องทาง ก็ถือเป็นการทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี

05 Aug, 2014   |  somjai.ru
ลักษณะของห้องสมุดที่มีชีวิต ในความคิดน่าจะเป็นแหล่งเรียนรู้ที่เข้าถึงได้หลาย ๆ ทาง อาจจะมาศึกษาด้วยตัวเองจากห้องสมุดโดยตรง หรือผ่านสื่อต่าง ๆ ที่ทันสมัยในยุคปัจจุบัน

04 Aug, 2014   |  varunee.ak
ลักษณะของห้องสมุดมีชีวิต น่าจะสามารถเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นศูนย์กลางการให้บริการ มาเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ได้

04 Aug, 2014   |  apichad.bu
กระบวนการสร้างและแสวงหาองค์ความรู้เกี่ยวกับบริบทความเป็นห้องสมุดมีชี่วิตของศูนย์ วิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดยการใช้วิธีการระดมพลังสมอง ช่วยให้สมาชิกของกลุ่ม เกิดพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ ซึ่งเป็นทักษะสำคัญในการเกิดการรู้สารสนเทศ (Information Literacy) ซึ่งจะเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ที่จะทำให้สมาชิกของกลุ่มเกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาความเป็นห้องสมุดมีชีวิตของศูนย์วิทยบริการได้ครับ

01 Aug, 2014   |  Supaporn.Wo
จากการค้นหาข้อมูลทางเว็บไซต์เกี่ยวกับห้องสมุดมีชีวิต และจากการแลกเปลี่ยนของสมาชิกกลุ่ม พบว่า แหล่งเรียนรู้ที่มีชื่อเสียง เช่น TK Park, TCDC นั้นมีการจัดให้บริการ สถานที่ บุคลากร และกิจกรรมที่มีความต่อเนื่อง และเข้าถึงกลุ่มผู้ใช้ได้ดี ซึ่งต้องมีการผสมผสานทั้งสี่ประเด็นเข้าด้วยกัน และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

01 Aug, 2014   |  vasinee.sr
ห้องสมุดมีชีวิต ความทันสมัย สะดวก ครบครัน และง่ายสำหรับการสืบค้น น่าจะใช้ได้กับห้องสมุดสวนสุนันทา เพราะขณะนี้ผู้บริหารให้ความสำคัญกับห้องสมุดมาก ทำให้ห้องสมุดต้องตื่นตัวตลอดเวลา ทั้งจัดกิจกรรม จัดบริการเชิงรุก เหมือนคำนินายที่ค้นพบเจอมาว่า “ไม่หยุดนิ่ง ตื่นตัวตลอด รับรู้ข่าวสาร เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์” ห้องสมุดเรามีครบ

01 Aug, 2014   |  juju
ห้องสมุดมีชีวิตที่หลาหลาย โดยสามารถแบ่งประเด็นหลักของการเป็นห้องสุดมีชีวิตได้ 4 ด้าน 1. ด้านบริการ 2. ด้านกิจกรรม 3. ด้านกายภาพ 4. ด้านบุคลากร

Others in this Category
document ประวัติและความเป็นมาของกลุ่มจัดการความรู้ "ห้องสมุดมีชีวิต"
document แผนการดำเนินงาน
document การบ่งชี้ความรู้ : ความหมายของห้องสมุดมีชีวิต
document การสร้างและแสวงหาความรู้ : ลักษณะของห้องสมุดมีชีวิตจากการศึกษาดูงาน
document การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ : ห้องสมุดมีชิวิตกับการประยุกต์ใช้ในสวนสุนันทา
document การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ : โครงการและกิจกรรมส่งเสริมห้องสมุดมีชีวิต
document โครงการปรับปรุงระบบการวิเคราะห์หนังสือประเภทปริญญานิพนธ์ และ วิทยานิพนธ์
document โครงการ บริการยืมหนังสือไม่จำกัด
document โครงการ กิจกรรมการแสดงดนตรี
document โครงการจัดทำป้ายสัญลักษณ์เพื่อส่งเสริมแหล่งเรียนรู้ห้องสมุดมีชีวิต
document โครงการบริการยืมกระเป๋ากลับบ้าน (Bag 2 Back)
document โครงการบริการรถเข็นอเนกประสงค์ (ช้อปกระจาย)
document โครงการขนหนังสือกลับบ้านช่วงปิดเทอม
document การเข้าถึงความรู้ : รูปแบบของการเป็นห้องสมุดมีชีวิต
document การเรียนรู้ ห้องสมุดมีชีวิต
document การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
document เอกสารเผยแพร่กลุ่มความรู้ห้องสมุดมีชีวิต
document การนำความรู้ไปใช้ประโยนช์
document ความรู้ที่ได้และการกลั่นกรองความรู้
document รายงานผลการดำเนินงานของกลุ่มความรู้ "ห้องสมุดมีชีวิต"