รูปแบบการใช้วิธีการสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตแก่เด็กวัยก่อนเรียนในชุมชนโดยอ าสาสมัครชุมชน : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ

        
Views: 988
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 02 Jul, 2014
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
Updated: 02 Jul, 2014
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
แนวทางการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตเด็กวัยก่อนเรียนในชุมชน มีกระบวนการและขั้นตอน ดังนี้
          1. ประสานงานกับอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้บริหารและครูประจำโรงเรียนเพื่อขออนุญาตจัดกิจกรรมบริการวิชาการ
          2. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : สอนอย่างไรให้นักศึกษาสามารถสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตแก่เด็กก่อนวัยเรียนในชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ”
          3. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “บทบาทของอาจารย์ในการบูรณาการการเรียนการสอนกับบริการวิชาการสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตให้กับเด็กในชุมชน
          4. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “บทบาทของนักศึกษาในการ สร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตเด็กก่อนวัยเรียนในชุมชน”
          5. จัดประชุมอาจารย์กลุ่มวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชและอาจารย์กลุ่มวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น และนักศึกษาเพื่อวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมบริการวิชาการ
          6. ประชุมแบ่งงาน และมอบหมายงานรับผิดชอบให้อาจารย์และนักศึกษา แต่ละคนภายในทีม
          7. จัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตเด็กวัยก่อนเรียน และจัดกิจกรรมประชุมเสวนา
ระหว่างบิดา มารดา/ผู้ปกครอง ครู และอาจารย์ นักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลสุขภาพ เรื่อง “การสร้างเสริมสุขภาพ 3 อ.ในเด็กก่อนวัยเรียน”
          8. ประเมินผล และสรุปผลการจัดกิจกรรม
          9. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่ม ด้วยการจัดบรรยากาศของการประชุมให้เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันแสดงความคิดเห็น มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นการพัฒนาวิธีการในการทำงานร่วมกันให้มีความสุข มีความสามัคคีในการจัดการความรู้
          10. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มความรู้ของวิทยาลัยฯ และมีการสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นระยะๆ
          11. ประชุมถอดบทเรียน เรื่อง “เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : สอนอย่างไรให้นักศึกษาสามารถสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตแก่เด็กวัยก่อนเรียนในชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ” เพื่อสรุปแนวทางการสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตแก่เด็กวัยก่อนเรียนในชุมชน
          12. การวางแผนการจัดการความรู้ครั้งต่อไป จะนำไปปรับเพื่อให้ชุมชนสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเองให้เป็นชุมชนที่เข้มแข็ง โดยวิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เป็นสถาบันพี่เลี้ยงในการดำเนินการในปีการศึกษาต่อไป
Others in this Category
document กระบวนการเทียบโอนผลการเรียน : กองบริการการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
document ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนแบบ Problem Based Learning (PBL) หรือการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
document เสริมสร้างความมั่นใจให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ หน่วยฝากครรภ์ : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
document การจัดทำคู่มือการซักประวัติและตรวจร่างกาย และการหาค่าความเที่ยง(validity) และการหาค่าความน่าเชื่อถือ(reliability) ของคู่มือการซักประวัติและตรวจร่างกาย : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
document รูปแบบการบริการวิชาการที่ดี : คณะวิทยาการจัดการ
document เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบ Project Base Learning : คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
document การจัดการเรียนการสอนแบบ Project – Based Learning : บัณฑิตวิทยาลัย
document เทคนิคการให้บริการแบบ Smile Service : สถาบันวิจัยและพัฒนา
document วางแผนอย่างไรให้สนองต่องานประกันคุณภาพ : กองนโยบายและแผน สำนักงานอธิการบดี
document กระบวนการรับฟังความต้องการของนักศึกษาและการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการ : กองพัฒนานักศึกษา สำนักงานอธิการบดี
document เทคนิคการให้บริการ One Stop Service : วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ
document กลยุทธ์พิชิตใจผู้ใช้บริการ One stop service : กองกลาง สำนักงานอธิการบดี
document ทำอย่างไรให้บุคลากรปฏิบัติตามจรรยาบรรณ : กองบริหารงานบุคคล สำนกังานอธิการบดี
document English for SSRU Staff : ศูนย์ภาษา
document การใช้งานระบบวิจัยออนไลน์ในการเสนอขอรับทุนสนับสนุนงานวิจัย : กองนโยบายและแผน สำนักงานอธิการบดี
document การจัดการเรียนการสอนแบบ Blended learning ในรายวิชาศึกษาทั่วไป : สำนักวิชาการศึกษาทั่วไปฯ
document การวางแผน กลยุทธ์ เพื่อดำเนินโครงการสาขาสู่ความเป็นเลิศของสาขาวิชาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว : วิทยาลัยนานาชาติ
document 6 ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้แบบ Project-based Learning ให้ประสบความสำเร็จ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
document การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
document การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้รูปแบบ PBL & CL : วิทยาลัยนานาชาติ
document เทคนิคการออกแบบกระบวนการพัฒนาชุดโครงการวิจัยท้องถิ่นเชิงบูรณาการ : บัณฑิตวิทยาลัย
document เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย ชุดศิลปวัฒนธรรมกรุงรัตนโกสินทร์ เพื่อให้ได้รับทุน : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
document การใช้งานระบบประเมินผลการปฏิบัติราชการ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
document กระบวนการและการจัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
document การพัฒนาแนวคิดห้องสมุดมีชีวิตตามอัตลักษณ์วังสวนสุนันทา : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
document เทคนิคการจัดทำข้อมูลสารสนเทศศิลปวัฒนธรรมรัตนโกสินทร์ : สำนักศิลปะและวัฒนธรรม