การจัดทำคู่มือการซักประวัติและตรวจร่างกาย และการหาค่าความเที่ยง(validity) และการหาค่าความน่าเชื่อถือ(reliability) ของคู่มือการซักประวัติและตรวจร่างกาย : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ

        
Views: 1126
Votes: 0
Comments: 0
Posted: 02 Jul, 2014
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
Updated: 02 Jul, 2014
by: สาครวรรณศักดิ์ ฝ.
1.  วิธีการจัดทำคู่มือมีการทบทวนความรู้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ : โดยนำไปหาค่าความตรงตามเนื้อหา (validity) พบว่า มีค่าความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ 0.6 ซึ่งมีค่าความตรงตามเนื้อหาที่ต่ำมาก อาจารย์ทุกท่านจึงได้มีการปรับเนื้อหาในแบบประเมินภาวะสุขภาพอีกครั้ง โดยในส่วนการรวบรวมข้อมูลจากการซักประวัติ เพิ่มข้อ 2 Initial vital signs และข้อ 5 Physical Exam by doctor และในส่วนของ Physical Exam by nurse student เพิ่มข้อ 3 Respiratory system และข้อ 5 Urinary system ให้มีความชัดเจนมากขึ้น หลังจากนั้นหาค่าความตรงตามเนื้อหา (validity) ซ้ำอีกครั้ง พบว่า ในส่วนการรวบรวมข้อมูลจากการซักประวัติ ได้ค่าความตรงตามเนื้อหา (validity) เท่ากับ .8 และส่วนของ Physical Exam by nurse student ได้ค่าความตรงตามเนื้อหา (validity) เท่ากับ .75 และค่าความตรงตามเนื้อหา (validity) ทั้งฉบับ เท่ากับ .76
          2. วิธีการใช้คู่มือมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ซึ่งกันและกันในองค์กรเดียวกัน : นำคู่มือการซักประวัติและตรวจร่างกายตามระบบไปทดลองใช้ (Try out) ในหอผู้ป่วยจริง (วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2555) กับกลุ่มทดลอง จำนวน 15 คน โดยได้มีการถอดบทเรียนและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคณาจารย์กับนักศึกษาทั้งหมด 15 คนที่นำคู่มือดังกล่าวไปทดลองใช้พบว่า นักศึกษาสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยได้สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
          3.  วิธีการใช้คู่มือมีการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในการนิเทศนักศึกษา   : คณาจารย์ในกลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคณาจารย์ต่าง กลุ่มวิชาในวิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ ทำให้เห็นข้อควรปรับปรุงและการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพต่อไป
Others in this Category
document กระบวนการเทียบโอนผลการเรียน : กองบริการการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
document ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนแบบ Problem Based Learning (PBL) หรือการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
document เสริมสร้างความมั่นใจให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ หน่วยฝากครรภ์ : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
document รูปแบบการบริการวิชาการที่ดี : คณะวิทยาการจัดการ
document เทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบ Project Base Learning : คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
document การจัดการเรียนการสอนแบบ Project – Based Learning : บัณฑิตวิทยาลัย
document รูปแบบการใช้วิธีการสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตแก่เด็กวัยก่อนเรียนในชุมชนโดยอ าสาสมัครชุมชน : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
document เทคนิคการให้บริการแบบ Smile Service : สถาบันวิจัยและพัฒนา
document วางแผนอย่างไรให้สนองต่องานประกันคุณภาพ : กองนโยบายและแผน สำนักงานอธิการบดี
document กระบวนการรับฟังความต้องการของนักศึกษาและการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการ : กองพัฒนานักศึกษา สำนักงานอธิการบดี
document เทคนิคการให้บริการ One Stop Service : วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ
document กลยุทธ์พิชิตใจผู้ใช้บริการ One stop service : กองกลาง สำนักงานอธิการบดี
document ทำอย่างไรให้บุคลากรปฏิบัติตามจรรยาบรรณ : กองบริหารงานบุคคล สำนกังานอธิการบดี
document English for SSRU Staff : ศูนย์ภาษา
document การใช้งานระบบวิจัยออนไลน์ในการเสนอขอรับทุนสนับสนุนงานวิจัย : กองนโยบายและแผน สำนักงานอธิการบดี
document การจัดการเรียนการสอนแบบ Blended learning ในรายวิชาศึกษาทั่วไป : สำนักวิชาการศึกษาทั่วไปฯ
document การวางแผน กลยุทธ์ เพื่อดำเนินโครงการสาขาสู่ความเป็นเลิศของสาขาวิชาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว : วิทยาลัยนานาชาติ
document 6 ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้แบบ Project-based Learning ให้ประสบความสำเร็จ : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
document การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
document การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้รูปแบบ PBL & CL : วิทยาลัยนานาชาติ
document เทคนิคการออกแบบกระบวนการพัฒนาชุดโครงการวิจัยท้องถิ่นเชิงบูรณาการ : บัณฑิตวิทยาลัย
document เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย ชุดศิลปวัฒนธรรมกรุงรัตนโกสินทร์ เพื่อให้ได้รับทุน : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
document การใช้งานระบบประเมินผลการปฏิบัติราชการ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
document กระบวนการและการจัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
document การพัฒนาแนวคิดห้องสมุดมีชีวิตตามอัตลักษณ์วังสวนสุนันทา : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
document เทคนิคการจัดทำข้อมูลสารสนเทศศิลปวัฒนธรรมรัตนโกสินทร์ : สำนักศิลปะและวัฒนธรรม