Email to friend
* Your name:
* Your email:
* Friend's email:
Comment:


รายงานผลการดำเนินงานจัดการความรู้ รอบ 6 เดือน

แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินงานจัดการความรู้ รอบ 6 เดือน(มกราคม 2557- มีนาคม 2557) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
คำชี้แจง ให้รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ให้ครบทุกกิจกรรมย่อยของแต่ละขั้นตอน
หน่วยงาน กลุ่มครูสีฟ้า วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ.............................................................................................................................................................................................................
แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ....................................................................................................................................................................................
ลำดับ กิจกรรม ตัวชี้วัด เป้าหมาย คำอธิบายผลการดำเนินงาน เอกสารหลักฐาน
1 การบ่งชี้ความรู้        
  การบ่งชี้ความรู้
-แต่งตั้งสมาชิกกลุ่มความรู้และดำเนินการทบทวนปัญหาจากรายงานการถอดบทเรียนหลังฝึกภาคปฏิบัติของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2556 เพื่อค้นหาหัวข้อปัญหาที่จะนำมาจัดการความรู้

-สมาชิกกลุ่มความรู้ครูสีฟ้า หาแนวทางการพัฒนาคู่มือซักประวัติภาษาอาเซียนเพื่อให้ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ที่ 3 คือยกระดับมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนและคุณภาพบัณฑิตตามอัตลักษณ์ของสวนสุนันทา
ปัญหาที่นำมาเป็นหัวข้อบูรณาการ





แนวทางการพัฒนาคู่มือซักประวัติภาษาอาเซียน
 1 เรื่อง






 1 หัวข้อ
จัดตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้กลุ่มครูสีฟ้า สุนทรียสนทนาเลือกหัวข้อจัดการความรู้"การสร้างนวัตกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพของชาวต่างชาติที่อาศัยในชุมชน" กำหนดแนวทางการพัฒนาคู่มือซักประวัติภาษาอาเซียนโดยการนำคู่มือไปใช้จริงเพื่อรวบรวมปัญหาสุขภาพของชาวต่างชาติ เพื่อสร้างนวัตกรรมทางสุขภาพ         รายงานการประชุมกลุ่มความรู้ ครั้งที่ 1
2 การสร้างและแสวงหาความรู้        
  สุนทรียสนทนาเพื่อคัดเลือกแนวทางการพัฒนาคู่มือซักประวัติภาษาอาเซียนเพื่อนำไปสู่การผลิตนวัตกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพของชาวต่างชาติที่อาศัยในชุมชน




-นำคู่มือซักประวัติภาษาอาเซียนไปใช้สอบถามเพื่อรวบรวมปัญหาสุขภาพของชาวต่างชาติในชุมชน
แนวทางการพัฒนาคู่มือการซักประวัติภาษาอาเซียนเพื่อนำไปสู่การผลิตนวัตกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพของชาวต่างชาติที่อาศัยในชุมชน

-ปัญหาสุขภาพของชาวต่างชาติเพื่อนำไปสร้างนวัตกรรม
1 หัวข้อ







- 1 หัวข้อ
กำหนดแนวทางการพัฒนาคู่มือซักประวัติภาษาอาเซียนโดยการนำคู่มือไปใช้จริงเพื่อรวบรวมปัญหาสุขภาพของชาวต่างชาติ เพื่อสร้างนวัตกรรมทางสุขภาพ       รายงานการประชุมกลุ่มความรู้ ครั้งที่ 2         
3 การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ        
  นำข้อมูลสุขภาพของชาวต่างชาติในชุมชนที่สำรวจได้ มาจัดหมวดหมู่เพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาต่อไป ปัญหาสุขภาพของชาวต่างชาติในชุมชนที่ผ่านขั้นตอนการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา 1 ปัญหา นำคู่มือซักประวัติภาษาอาเซียนไปใช้ในการสำรวจปัญหาสุขภาพของชาวต่างชาติในชุมชน        *** เนื่องจากชาวต่างชาติถือเป็นประชากรในชุมชน ดังนั้นจึงทำการสำรวจภาวะสุขภาพของประชาชนทุกคนในชุมชนไปพร้อมกัน                       เมื่อได้ข้อมูลปัญหาสุขภาพที่พบในชุมชนแล้ว นำข้อมูลที่ได้มาจัดหมวดหมู่ปัญหาและนำเข้าสู่กระบวนการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาเพื่อเลือกหัวข้อที่ประชาชนในชุมชนต้องการแก้ไขต่อไป ผลวิเคราะห์ข้อมูลด้านสุขภาพของประชาชนในชุมชน                       รายงานการวินิจฉัยชุมชนของนักศึกษา        รายงานการถอดบทเรียนหลังฝึกภาคปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน
4 การประมวลผลและกลั่นกลองความรู้        
  นำปัญหาสุขภาพที่ผ่านการจัดลำดับความสำคัญมาประชุมเพื่อหาแนวทางการสร้างนวัตกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ


-แบ่งนักศึกษาเป็น 2 กลุ่ม ทดลองใช้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพและถอดบทเรียนหลังการทดลองใช้ เพื่อปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น
จำนวนนวัตกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาที่สำรวจได้
-จำนวนครั้งของการทดลองใช้
-จำนวนครั้งของการถอดบทเรียนหลังใช้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ
-จำนวนนักศึกษาที่นำนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพไปใช้
1 เรื่อง


 ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง

ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง


 ร้อยละ 100
เมื่อได้หัวข้อปัญหาสุขภาพที่พบในชุมชนแล้วจึงนำหัวข้อปัญหาเข้าสู่กระบวนการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาเพื่อเลือกหัวข้อที่ประชาชนในชุมชนต้องการแก้ไข            นำปัญหาสุขภาพที่ผ่านการจัดลำดับความสำคัญมาประชุมเพื่อหาแนวทางการสร้างนวัตกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
แบ่งนักศึกษาเป็น 2 กลุ่ม ทดลองใช้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพและถอดบทเรียนหลังการทดลองใช้ เพื่อปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น
ผลวิเคราะห์ข้อมูลด้านสุขภาพของประชาชนในชุมชน                       ผลการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา    รายงานการวินิจฉัยชุมชนของนักศึกษา        รายงานการถอดบทเรียนหลังฝึกภาคปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน
5 การเข้าถึงความรู้        
  นำนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ให้นักศึกษานำไปใช้ในการฝึกปฎิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน




-จัดทำคู่มือการใช้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ











-จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังฝึกปฏิบัติงาน








-มีการจัดบอร์ดเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานโครงการ KM ให้บุคคลอื่นสามารถทราบข้อมูลได้




-มีการเผยแพร่ทาง Website



-จัดทำแฟ้มการดำเนินงานกลุ่มความรู้ครูสีฟ้าเพื่อให้บุคคลในหน่วยงานสามารถอ่านได้
ร้อยละของนักศึกษาที่นำนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพไปใช้



-คู่มือการใช้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ










-จำนวนครั้งของการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังฝึกปฏิบัติงาน





-จำนวนครั้งการจัดบอร์ดเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานของกลุ่มจัดการความรู้ครูสีฟ้า

-การเผยแพร่ทาง www.km.ssru.ac.th

-จำนวนแฟ้มการดำเนินงานกลุ่มความรู้ครูสีฟ้า
100%





-1 เล่ม











 2 ครั้ง
    








- เดือนละ 2 หัวข้อ







- เดือนละ 1 ครั้ง




- 1 เล่ม
นำนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ ให้นักศึกษานำไปใช้ในการฝึกปฎิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน (อยู่ระหว่างดำเนินการ)




-จัดทำคู่มือการใช้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ











-จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลังฝึกปฏิบัติงาน








-มีการจัดบอร์ดเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานโครงการ KM ให้บุคคลอื่นสามารถทราบข้อมูลได้




-มีการเผยแพร่ทาง Website



-จัดทำแฟ้มการดำเนินงานกลุ่มความรู้ครูสีฟ้าเพื่อให้บุคคลในหน่วยงานสามารถอ่านได้
อยู่ระหว่างดำเนินการ
6 การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้        
  จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานของกลุ่มความรู้ในหน่วยงาน








-จัดทำรายงานกระบวนการดำเนินงานกลุ่มความรู้ครูสีฟ้า ให้บุคคลอื่นสามารถอ่านได้








-จัดทำคู่มือการใช้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ










-มีการเผยแพร่กระบวนการดำเนินงานกลุ่มครูสีฟ้าทาง Website เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าไปรับทราบข้อมูล







-มีการจัดบอร์ดเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานโครงการ KM ให้บุคคลอื่นสามารถทราบข้อมูลได้

จำนวนครั้งของการจัดเวที
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหน่วยงาน






-คู่มือเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานของกลุ่มจัดการความรู้







-คู่มือการใช้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ









-การเผยแพร่ทาง www.km.ssru.ac.th








-การจัดบอร์ดนิทรรศการ
ไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง










-1 เล่ม











-1 เล่ม











- เดือนละ 2 หัวข้อ











- เดือนละ 1 ครั้ง
อยู่ระหว่างดำเนินการ อยู่ระหว่างดำเนินการ
7 การเรียนรู้        
  ติดตามผลการใช้ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง








-ถอดบทเรียนอาจารย์ผู้ฝึกปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชนเพื่อนำข้อมูลไปปรับปรุงนวัตกรรมและวิธีการเรียนการสอนในปีถัดไป



-ส่งกลุ่มความรู้เข้าร่วมประกวดกิจกรรม KM ของมหาวิทยาลัย
ความสมบูรณ์ของนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพและคู่มือการนำไปใช้





-จำนวนครั้งของ
การถอดบทเรียน





-รางวัลจากการประกวด
ไม่น้อยกว่า 60 %








-2 ครั้ง






- Best Practice 1 รางวัล
อยู่ระหว่างดำเนินการ อยู่ระหว่างดำเนินการ
หมายเหตุ กิจกรรมที่ 3-7 ยังไม่ถึงรอบระเวลาในการรายงานผลการดำเนินงาน