ส่วนที่ 2 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติ

       

 

2.ปฏิทินการดำเนินงานของชุมชนนักปฏิบัติ (กลุ่มความรู้)

               
ลำดับที่
กิจกรรม
ระยะเวลา
ตัวชี้วัด
เป้าหมาย
ผู้รับผิดชอบ
1
   ตั้งชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) และกำหนดบทบาทหน้าที่ของสมาชิก
   ม.ค.2555
มีชุมชนนักปฏิบัติและบทบาทหน้าที่ของสมาชิก
มีชุมชนนักปฏิบัติและบทบาทหน้าที่ของสมาชิก
รองผู้อำนวยการฝ่ายวิทยบริการและเจ้าหน้าที่ศูนย์วิทยบริการทุกคน
2
ประชุมครั้งที่ 1 : กำหนดหัวข้อและแนวทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มความรู้ “การพัฒนาแนวคิดห้องสมุดมีชีวิตตามอัตลักษณ์วังสวนสุนันทา”
24 ก.พ. 2555
มีหัวข้อและแนวทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ
มีหัวข้อและแนวทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ
ชุมชนนักปฏิบัติ
3
ประชุมครั้งที่ 2 : หัวข้อห้องสมุดมีชีวิต
13 มี.ค.2555
ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมครั้งที่ 2
80
ชุมชนนักปฏิบัติ
4
ประชุมครั้งที่ 3 : อัตลักษณ์วังสวนสุนันทา
13 เม.ย. 2555
ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมครั้งที่ 3
80
ชุมชนนักปฏิบัติ
5
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ 4 : ศึกษาดูงานห้องสมุดมีชิวิตต่างๆ
15 พ.ค. 2555
มีการศึกษาดูงานห้องสมุดมีชีวิตจำนวน 2 แห่ง
 
2 แห่ง
ชุมชนนักปฏิบัติ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ลำดับที่
กิจกรรม
ระยะเวลา
ตัวชี้วัด
เป้าหมาย

5

ผู้รับผิดชอบ

6
การประชุมครั้งที่ 5 : การกำหนดมาตรฐานและตัวชี้วัดตามแนวคิดห้องสมุดมีชีวิตตามอัตลักษณ์วังสวนสุนันทา
15 พ.ค. 2555
มีมาตรฐานและตัวชี้วัดตามแนวคิดห้องสมุดมีชีวิตฯ
มีมาตรฐานและตัวชี้วัดตามแนวคิดห้องสมุดมีชีวิตฯ
ชุมชนนักปฏิบัติ
7
การประชุมครั้งที่ 6 : การวิเคราะห์ – การสังเคราะห์ ความเป็นห้องสมุดมีชีวิตตามอัตลักษณ์วังสวนสุนันทาของศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์และหาแบบปฏิบัติที่ดี)
15 มิ.ย. 2555
มีรายงานการวิเคราะห์- การสังเคราะห์ฯ รายบุคคล
มีรายงานการวิเคราะห์- การสังเคราะห์ฯ รายบุคคล
ชุมชนนักปฏิบัติ
8
จัดทำรายงานผลการดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่ม
15 ก. ค. 2555
มีรายงานผลการดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่ม
มีรายงานผลการดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่ม
ชุมชนนักปฏิบัติ
9
บันทึกความรู้ของกลุ่มในเว็บไซต์ KM ของมหาวิทยาลัย
1 ส.ค. 2555
มีการบันทึกความรู้ในเว็บไซต์ฯ
มีการบันทึกความรู้ในเว็บไซต์ฯ
คุณวิศาสตร์