R บุคคล ชื่อ - สกุล..นางสาวกฤษณา อารีย์. ตำแหน่ง.หัวหน้าฝ่ายแผนงาน งบประมาณ และประกันคุณภาพ(นักวิเคราะห์นโยบายและแผน).. หน่วยงาน...สำนักวิชาการศึกษาทั่วไปฯ |
|||||
R ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoP) กลุ่มหลัก.กลุ่ม 6 งานแผนและงบประมาณ.. กลุ่มย่อย กลุ่มแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ |
|||||
หัวข้อการจัดการความรู้ (KM) |
|||||
องค์ความรู้ |
แนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดดของมหาวิทยาลัย ประจำงบประมาณ 2564 |
เลขที่เอกสาร (ถ้ามี) |
สศอ. 431 |
||
วันที่รายงาน |
16 สิงหาคม 2564 |
||||
ประเภท |
£ การจัดการเรียนการสอน £ การวิจัย R การพัฒนาการปฏิบัติงาน |
คณบดี/ผู้อำนวยการ |
หัวหน้าสำนักงาน/หัวหน้าฝ่าย |
จัดทำโดย |
|
อาจารย์นภาศรี สุวรรณโชติ ผู้อำนวยการสำนักวิชาการศึกษาทั่วไปและนวัตกรรมการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ |
นางสาวกฤษณา อารีย์ หัวหน้าฝ่ายแผนงานและประกันคุณภาพ ของสำนักวิชาการศึกษาทั่วไปและนวัตกรรมการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ |
นางสาวกฤษณา อารีย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนของสำนักวิชาการศึกษาทั่วไปและนวัตกรรมการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ |
1. ความเป็นมาและเหตุผล/สภาพปัญหาและอุปสรรค (สรุปโดยย่อ)
กลุ่มความรู้ แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่ม 6 งานแผนและงบประมาณ ได้เกิดจากการรวมตัวของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการจากหน่วยงานต่างๆ จำแนกเป็นหน่วยงานจัดการศึกษา จำนวน 10 หน่วยงาน และหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษา จำนวน 4 หน่วยงาน โดยได้กำหนดองค์ความรู้ที่จำเป็นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ
จากผลการดำเนินงานการจัดการความรู้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา กลุ่มความรู้ได้ดำเนิน การจัดการความรู้เรื่อง แนวทางการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีอย่างมีคุณภาพ และมีโอกาสได้เข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่ผลงานต่อคณะกรรมการการจัดการความรู้ในระดับมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2563 ซึ่งคณะกรรมการฯ โดยรองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา เมฆขา รองอธิการบดีฝ่ายแผนงานและประกันคุณภาพได้กล่าวชมเชยผลการดำเนินงานกลุ่มความรู้และได้ให้ข้อเสนอแนะว่างานแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการเป็นหัวใจสำคัญในการขับเคลื่อนทิศทางการดำเนินงานขององค์กร หากแผนงานดีมีประสิทธิภาพก็จะสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานให้บรรลุตามเป้าประสงค์ของหน่วยงานได้ ซึ่งจากการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจาปีการศึกษา2562 ของหน่วยงานที่ผ่านมา พบว่า หน่วยงานมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน แต่ผลการจัดโครงการเชิงยุทธศาสตร์กลับไม่ตอบโจทย์ตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการ นับเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่กลุ่มความรู้ด้านแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการจะดำเนินการปรับปรุงและพัฒนางานประจำโดยการพัฒนาองค์ความรู้ที่หน่วยงานต่างๆ สามารถจัดโครงการที่ตอบสนองโครงการเชิงยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดแผนปฏิบัติการประจำปีได้ โดยที่ทุกหน่วยงานมีแนวปฏิบัติที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
จากผลการดำเนินงานการจัดการความรู้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา กลุ่มความรู้ได้ดำเนิน
การจัดการความรู้เรื่อง แนวทางการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีอย่างมีคุณภาพ และมีโอกาสได้เข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่ผลงานต่อคณะกรรมการการจัดการความรู้ในระดับมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2563 ซึ่งคณะกรรมการฯ โดยรองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา เมฆขา รองอธิการบดีฝ่ายแผนงานและประกันคุณภาพได้กล่าวชมเชยผลการดำเนินงานกลุ่มความรู้และได้ให้ข้อเสนอแนะว่างานแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการเป็นหัวใจสำคัญในการขับเคลื่อนทิศทางการดำเนินงานขององค์กร หากแผนงานดีมีประสิทธิภาพก็จะสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานให้บรรลุตามเป้าประสงค์ของหน่วยงานได้ ซึ่งจากการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา2562 ของหน่วยงานที่ผ่านมา พบว่า หน่วยงานมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน แต่ผลการจัดโครงการเชิงยุทธศาสตร์กลับไม่ตอบโจทย์ตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการ นับเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่กลุ่มความรู้ด้านแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการจะดำเนินการปรับปรุงและพัฒนางานประจำโดยการพัฒนาองค์ความรู้ที่หน่วยงานต่างๆ สามารถจัดโครงการที่ตอบสนองโครงการเชิงยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดแผนปฏิบัติการประจำปีได้ โดยที่ทุกหน่วยงานมีแนวปฏิบัติที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ดังนั้น กลุ่มย่อยที่ 1 กลุ่มแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ จึงได้จัดประชุมกลุ่มเพื่อทบทวนการกาหนดองค์ความรู้หลักที่จำเป็นและมีความสาคัญต่องานแผนและงบประมาณ โดยนำข้อเสนอแนะของคณะกรรมการการจัดการความรู้ในปีที่ผ่านมา มาพิจารณาในการกาหนดองค์ความรู้ดำเนินการของกลุ่ม ซึ่งผลการประชุมกลุ่มความรู้เห็นชอบในการดำเนินการจัดการความรู้ โดยกำหนดองค์ความรู้ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คือ แนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจางบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยแต่ละหน่วยงานต้องดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านต่างๆ ตามที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาได้ถ่ายทอดแผนลงสู่ทุก หน่วยงานภายใน และครอบคลุมกับการจัดทำแผน Improvement plan กลุ่ม 6 งานแผนและงบประมาณ กลุ่มย่อยที่ 1 กลุ่มแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการได้ดำเนินงานจัดการความรู้ตามแนวทางที่มหาวิทยาลัยกำหนด มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกัดองค์ความรู้และนำองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ในการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านต่างๆ ต่อไป
2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาแนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำงบประมาณ 2564
3. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
3.1 สภาพการปฏิบัติงานเดิม
ยังไม่มีแนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัยอย่างเป็นรูปธรรม โดยที่ทุกหน่วยงานมีแนวปฏิบัติที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
3.2 สภาพการปฏิบัติงานใหม่
ได้รูปแบบแนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2564 และคู่มือแนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2564
4. แนวคิด/ขั้นตอน/วิธีการ (สรุป)
R การลดขั้นตอน/ระยะเวลาการดำเนินงาน
£ ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
£ พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน
R สร้างประโยชน์และความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ
5. ข้อควรระวัง (ถ้ามี)
-
6. เคล็ดลับ/เทคนิคพิเศษ (Tips and Tricks) (สรุปโดยย่อ)
สมาชิกกลุ่มแผนและงบประมาณ กลุ่ม 6 แผนและงบประมาณ กลุ่มย่อย 1 แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่ม ในหัวข้อเรื่อง แนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2564 มีความตั้งใจเสาะแสวงหาความรู้ โดยการให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เล่าถึงวิธีการทำงาน ประสบการณ ์ เทคนิค วิธีการแก้ปัญหาของตนเองที่ผ่านมาในเรื่องของการกำหนดวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดโครงการของแผนปฏิบัติการด้านต่างๆ ผ่านการเขียนลงในตารางบันทึกผลสรุป Story Telling รายบุคคล (Online) รายบุคคลของผู้เชี่ยวชาญ และผู้ทรงคุณวุฒิ จนได้วิธีการแนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจาปีงบประมาณ 2564 ซึ่งประกอบด้วย กระบวนการ/แนวทาง/วิธีการใหม่ เกี่ยวกับแนวทางการเขียนโครงการ แบบฟอร์มต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และจัดเก็บองค์ความรู้โดยการจัดทำเป็นคู่มือแนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจาปีงบประมาณ 2564
7. ผลของการดำเนินงาน (Output) (สรุปโดยย่อ)
สมาชิกกลุ่มแผนและงบประมาณ กลุ่ม 6 แผนและงบประมาณ กลุ่มย่อย 1 แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่ม ได้เสาะแสวงหาความรู้ โดยการให้สมาชิกภายในกลุ่มเล่าถึงวิธีการทำงาน ประสบการณ์ เทคนิค วิธีการแก้ปัญหาของตนเอง แบบฟอร์มที่ใช้ในการเขียนโครงการ หรือแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง ที่ผ่านมาเขียนลงในตารางบันทึกผลสรุป Story Telling รายบุคคล (Online) จนได้องค์ความรู้ ในหัวข้อเรื่องแนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2564 หลังจากนั้นนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในหน่วยงานตัวเอง (สำนักวิชาการศึกษาทั่วไปฯ และสำนักศิลปและวัฒนธรรม) หน่วยงานนำไปใช้แล้วผลการเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติจะดีขึ้นและทุกคนมีความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ ซึ่งจะสามารถตอบโจทย์ตัวชี้วัดได้ ดั
8. ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน (Outcome) (สรุปโดยย่อ)
สมาชิกกลุ่ม แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่ม ในหัวข้อเรื่อง แนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัยประจำปีงบประมาณ 2564 สมาชิกกลุ่มสามารถเข้าใจตัวชี้วัด ของหน่วยงาน และแนวทางการเขียนโครงการที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามแผนปฎิบัติการประจำปีได้อย่างถูกต้อง เป็นรูปธรรม ชัดเจนไม่คลุมเครือ ตลอดจนสามารถถ่ายทอดความรู้ไปสู่ผู้บริหารและบุคลากร ซึ่งสามารถวัด และประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้สามารถวิเคราะห์ได้ว่า โครงการ เชิงยุทธศาสตร์ ที่บรรจุลงในแผนปฏิบัติการประจำปี หน่วยงานสามารถนำไปวางแผนโครงการสนับสนุนได้ พร้อมทั้งถ่ายทอดโครงการลงสู่ผู้ปฏิบัติหรือผู้รับผิดชอบโครงการได้ ซึ่งผู้รับผิดชอบโครงการสามารถเขียนโครงการสนับสนุนโครงการเชิงยุทธศาสตร์ได้อย่างถูกต้องไม่หลงประเด็น ตอบโจทย์ตัวชี้วัดในแผนปฏิบัติการได้อย่างครบถ้วน และการจัดโครงการนั้นๆ เกิดประโยชน์ที่สะท้อนถึงแผนปฏิบัติการประจำปีที่มีประสิทธิภาพและมีคู่มือแนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2564 ที่เผยแพร่ในเว็บไซต์ GE-SSRU ระบบสารสนเทศงานประกันคุณภาพ (http://www.ge-plan.ssru.ac.th/)
9. ประโยชน์ที่ได้รับ (สรุปโดยย่อ)
สมาชิกกลุ่มแผนและงบประมาณ กลุ่ม 6 แผนและงบประมาณ กลุ่มย่อย 1 แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่ม ได้เสาะแสวงหาความรู้ โดยการให้สมาชิกภายในกลุ่มเล่าถึงวิธีการทำงาน ประสบการณ์ เทคนิค วิธีการแก้ปัญหาของตนเอง แบบฟอร์มที่ใช้ในการเขียนโครงการ หรือแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง ที่ผ่านมาเขียนลงในตารางบันทึกผลสรุป Story Telling รายบุคคล (Online) จนได้องค์ความรู้ ในหัวข้อเรื่องแนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2564 หลังจากนั้นนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในหน่วยงานตัวเอง (สำนักวิชาการศึกษาทั่วไปฯ และสำนักศิลปและวัฒนธรรม) หน่วยงานนำไปใช้แล้วผลการเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติจะดีขึ้นและทุกคนมีความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ ซึ่งจะสามารถตอบโจทย์ตัวชี้วัดได้
10. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (สรุปโดยย่อ)
สมาชิกกลุ่มแผนและงบประมาณ กลุ่ม 6 แผนและงบประมาณ กลุ่มย่อย 1 แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่ม ในหัวข้อเรื่อง แนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2564 ประโยชน์ขององค์ความรู้ที่ได้รับ คือ สมาชิกกลุ่มสามารถเข้าใจตัวชี้วัดของหน่วยงาน และแนวทางการเขียนโครงการที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดตามแผนปฎิบัติการประจำปีอย่างได้อย่างถูกต้อง เป็นรูปธรรม ชัดเจนไม่คลุมเครือ ตลอดจนสามารถถ่ายทอดความรู้ไปสู่ผู้บริหารและบุคลากร ซึ่งสามารถวัด และประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
11. แนวทางการพัฒนาในอนาคต (สรุปโดยย่อ)
กลุ่ม 6 แผนและงบประมาณ กลุ่มย่อย 1 แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ในหัวข้อเรื่อง แนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2564 ดำเนินการวิจัยในเรื่อง การพัฒนากระบวนการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ตามประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากระบวนการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ตามประจำปีงบประมาณ และเพื่อประเมินผลความเข้าใจในการเขียนโครงการของบุคลากร โดยได้นวัตกรรมของกลุ่ม 6 แผนและงบประมาณ กลุ่มย่อย 1 แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ในหัวข้อเรื่อง แนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2564 คือ การได้ รูปแบบ แนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2564 และคู่มือแนวทางการเขียนโครงการให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2564