£ บุคคล ชื่อ สกุล ศิฐิมา เจริญสุข ตำแหน่ง นักวิชาการพัสดุ |
|||||
£ ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoP) กลุ่มหลักการเงินและพัสดุ |
|||||
หัวข้อการจัดการความรู้ (KM) |
การพัฒนามาตรฐานข้อมูลทะเบียนครุภัณฑ์ |
||||
องค์ความรู้ |
การพัฒนามาตรฐานข้อมูลทะเบียนครุภัณฑ์ |
เลขที่เอกสาร (ถ้ามี) |
|||
วันที่รายงาน |
22/9/64 |
||||
ประเภท |
£ การจัดการเรียนการสอน £ การวิจัย R การพัฒนาการปฏิบัติงาน |
ผู้อำนวยการ |
หัวหน้าสำนักงาน |
จัดทำโดย |
|
ดร.พีระพล ชัชวาลย์ |
น.ส.สุลาวัลย์ พันธ์ศรี |
นางศิฐิมา เจริญสุข |
|||
1. ความเป็นมาและเหตุผล/สภาพปัญหาและอุปสรรค
ตามที่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้วันที่ 23 สิงหาคม 2560 สาระสำคัญที่มีการเปลี่ยนแปลงคือการซื้อจัดจ้างจากเดิม 6 วิธี กำหนดวิธีจัดซื้อจัดจ้าง 3 วิธีได้แก่ 1) วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป 2) วิธีคัดเลือก 3) วิธีเฉพาะเจาะจง ตามระเบียบใหม่ และมีการปรับเปลี่ยนการจัดซื้อครุภัณฑ์ที่มียอดเกินกว่า 10,000 บาท เนื่องจากแต่ละหน่วยงานมีการจัดซื้อครุภัณฑ์จำนวนหลายชิ้น และมอบให้กับผู้ใช้งานที่แต่ละท่านนำไปปฏิบัติงานในแต่ละหน้าที่ เจ้าหน้าที่พัสดุมีหน้าที่ต้องตรวจเช็คครุภัณฑ์ประจำปี ทำให้มีปัญาในการค้นหาและตรวจสอบครุภัณฑ์แต่ละชิ้น เพราะบางชิ้นรูปแบบเหมือนกัน ทำให้การตรวจสอบยากต่อการปฏิบัติงานและใช้ระยะเวลาในการค้นหา จะไม่ทันต่อการรายงานตรวจสอบพัสดุประจำปีนั้น
เจ้าหน้าที่พัสดุซึ่งมีหน้าที่โดยตรงเกี่ยวกับจัดหาพัสดุยังไม่มีแนวทางขั้นตอนการปฏิบัติที่ชัดเจน ทำให้เกิดปัญหาในการปฏิบัติงานไม่ถูกต้องตามระเบียบส่งผลให้การจัดหาพัสดุไม่เป็นไปตามการจำแนกค่าใช้จ่าย จำแนกประเภทของวัสดุ ครุภัณฑ์ จึงเป็นที่มาของการจัดตั้งกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่พัสดุของหน่วยงานต่างๆ ระดับกอง สำนัก สถาบัน และวิทยาลัยในกำกับ เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สำหรับจัดการปัญหาที่เกิดจากการปฏิบัติงานของหน่วยงานดำเนินงานโดยวิธีจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง เนื่องจากเป็นวิธีที่หน่วยงานระดับ สำนัก,สถาบัน,วิทยาลัย,ศูนย์,กอง ได้รับงบประมาณตามแผนการดำเนินงานของแต่ละหน่วยงาน
2. วัตถุประสงค์
- ลดระยะเวลาการค้นหาครุภัณฑ์ - ทำการตรวจนับครุภัณฑ์ประจำปีได้ทันต่อเวลา
- ตรวจสอบอายุการใช้งานของครุภัณฑ์เพื่อตัดจำหน่าย
- สามารถค้นหาได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากมีรูปภาพครุภัณฑ์
3. ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
3.1 สภาพการปฏิบัติงานเดิม -
3.2 สภาพการปฏิบัติงานใหม่ ลักษณะงานคือ การสร้างแบบฟอร์มลงทะเบียนข้อมูลครุภัณฑ์
4. แนวคิด/ขั้นตอน/วิธีการ (สรุป)
Rการลดขั้นตอน/ระยะเวลาการดำเนินงาน
£ ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
R พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน
£ สร้างประโยชน์และความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ
5. ข้อควรระวัง (ถ้ามี)
-
6. เคล็ดลับ/เทคนิคพิเศษ (Tips and Tricks)
- ใส่รูปภาพครุภัณฑ์ ช่วยให้การค้นหาได้อย่างรวดเร็ว
7. ผลของการดำเนินงาน (Output)
- การพัฒนามาตรฐานข้อมูลทะเบียนครุภัณฑ์ ระดับหน่วยงาน ( สำนัก,สถาบัน,วิทยาลัย,ศูนย์,กอง)
8. ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน (Outcome)
- เกิดความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
9. ประโยชน์ที่ได้รับ
- นำแบบฟอร์มการลงข้อมูลทะเบียนครุภัณฑ์ สามารถค้นหาได้อย่างรวดเร็ว
- แยกประเภทของหมวดครุภัณฑ์ให้ชัดเจนเอื้อต่อการค้นหา
10. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
-ความสามัคคีในกลุ่มช่วยกันคิดช่วยกันแก้ไขการทำงานให้รวดเร็ว
- การคิดค้นทำแบบฟอร์มมาช่วยลดระยะเวลาของการตรวจสอบครุภัณฑ์
11. แนวทางการพัฒนาในอนาคต
- ทำเป็นรูปแบบบาร์โค้ตสแกนการค้นหาครุภัณฑ์