ส่วนที่ 3 ผลผลิตและผลลัพธ์

  1. ความรู้ที่ได้และการกลั่นกรองความรู้

ความรู้ที่ได้

  1. แนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
  2. ข้อเสนอโครงการวิจัยที่พร้อมเสนอขอรับทุนสนับสนุนการวิจัย

ผ่านการกลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ ดังนี้

  1. รศ.ดร.โยธิน แสวงดี
  2. รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์
  3. รศ.ดร.ศิริชัย พงษ์วิชัย
  4. ผศ.สุภาวดี โพธิยะราช
  5. ดร.สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์
  6. ดร.วารุณี วารัญญานนท์
  7. ดร.สมถวิล ธนโสภณ
  8. คุณสุนันทา สมพงษ์
  9. คุณอรสา ดิสถาพร

บันทึกและจัดเก็บอยู่ที่

  1. คณะครุศาสตร์
  2. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  3. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  4. คณะวิทยาการจัดการ
  5. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
  6. คณะศิลปกรรมศาสตร์
  7. บัณฑิตวิทยาลัย
  8. วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ
  9. วิทยาลัยนานาชาติ
  10. วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
  11. วิทยาลัยสหเวชศาสตร์
  12. วิทยาลัยการภาพยนตร์ ศิลปะการแสดง และสื่อใหม่
  13. วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
  14. โรงเรียนสาธิต
  15. กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

  1. ประโยชน์ขององค์ความรู้และการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางาน
    1. ประโยชน์ขององค์ความรู้

1) ได้พัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยสู่การส่งข้อเสนอตามหน่วยงานภายนอกที่ประกาศรับ

2) ได้องค์ความรู้ใหม่ในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย

  1. การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางาน

1) ได้รับทุนสนับสนุนในการดำเนินการวิจัย

2) ได้พัฒนาสู่การนำไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

3) ได้สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัย

  1. การขยายผลการนำองค์ความรู้ไปใช้ประโยชน์กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง

1) เป็นพี่เลี้ยงให้กับบุคลากรในหน่วยงานและบุคลากรภายนอกหน่วยงาน

2) ได้แลกเปลี่ยนกับกลุ่ม KM ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและภายนอกมหาวิทยาลัย

  1. สรุปการดำเนินการจัดการความรู้ของกลุ่มความรู้
    1. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

1) มีระบบและกลไกที่เอื้อต่อการจัดการความรู้

2) มีทรัพยากรที่เพียงพอ เช่น งบประมาณที่เอื้อต่อการดำเนินการ

3) มีงบประมาณส่งเสริมและรางวัลสนับสนุน

  1. ปัญหาและอุปสรรค

1) อาจารย์มีภาระงานสอนมาก

  1. การต่อยอดองค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่เกิดขึ้น
    1. งานวิจัย

1) นำไปขอทุนสนับสนุนงานวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกหรือบริษัทห้างร้าน

2) นำไปบูรณาการกับการเรียนการสอนและการวิจัย

3) สามารถเขียนเป็นหนังสือหรือบทความเพื่อการเผยแพร่