องค์ความรู้เรื่องขนมไทย
เรื่อง พฤติกรรมการบริโภคขนมไทย
Consumption Behavior of thai dessert
ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของขนมไทย
ในแต่ละสมัย
- สมัยสุโขทัย
- สมัยอยุธยา
ความหมายของขนมไทย
ขนมไทย หมายถึงขนมชนิดต่างๆของไทยที่ได้รับการสืบทอดมาแต่โบราณส่วนใหญ่มี รส หวาน แต่งกลิ่นด้วยวัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ มีส่วนประกอบหลัก คือ แป้ง น้ำตาล มะพร้าว กะทิ เป็นต้น
ประเภทของขนมไทย
u การทำขนมไทยสามารถจัดแบ่งเป็นชนิดต่างๆ ได้ลักษณะของเครื่องปรุงลักษณะกรรมวิธีในการทำ ได้ดังนี้
u ประเภทต้ม / เชื่อม /ลวก ประเภทนึ่ง ประเภทกวน / ฉาบ /อบ /ผิง /ปิ้ง /ย่าง /จี้
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
u โมเดลพฤติกรรมผู้บริโภค
u กระบวนการตัดสินใจซื่อของผู้บริโภค
โมเดลพฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior Model)
u สิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดความต้องการ
u สิ่งกระตุ้นทางการตลาด
u การตอบสนองของผู้ซื้อ
u สิ่งกระตุ้นอื่นๆ
ปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภค
u ปัจจัยทางวัฒนธรรม
u ปัจจัยทางสังคม
u ปัจจัยส่วนบุคคล
u ปัจจัยทางจิตวิทยา
สีที่ใช้ในการนำมาปรุงแต่งขนมไทยจากธรรมชาติ
u ในสมัยโบราณการทำขนมไทยจะมีการนำสีที่ได้จากธรรมชาติมาใช้ในการปรุงแต่งสีขนม สีที่ได้จากธรรมชาติจะให้สีสันที่สวยงามแล้ว ยังไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายของผู้บริโภคและมีคุณค่าทางโภชนาการด้วย สีที่นำมาใช้ในการทำขนมมี ดังนี้
สีที่ได้จากธรรมชาติ
สีเขียว ได้จาก ใบเตย
สีเหลือง ได้จาก ขมิ้น
สีแดง ได้จาก กระเจี๊ยบ
สีม่วง ได้จาก อัญชัน
สีดำ ได้จาก เปียกปูน
สีน้ำตาล ได้จาก น้ำตาลไหม้ เมล็ดกาแฟ
ขนมไทยที่ใช้ในงานมงคลงานพิธีกรรมและเทศกาลต่างๆ
ขนมไทยเป็นเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจำชาติไทยอย่างหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันดี เพราะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนประณีตในการทำ ตั้งแต่วัตถุดิบ วิธีการทำที่กลมกลืนพิถีพิถันในเรื่องของรสชาติ สีสันสวยงาน มีกลิ่นหอม รูปลักษณ์ชวนน่ารับประทาน ขนมไทยเหล่านี้ยังมีการนำมาประกอบในงานมงคล งานพิธีกรรม หรือ เทศกาลต่างๆ ดังนี้
งานแต่งงาน
ขนมที่ใช้ คือ ขนมกง ขนมทองเอก ขนมรังนก ขนมชั้น เป็นต้น
เทศกาลงานสงกรานต์
ขนมที่นิยมเป็นส่วนมาก คือ ขนมเปียก ข้าวเหนียวแดงและขนมกาละแมร์ เป็นส่วนใหญ่
วันเข้าพรรษา
ตรงกับวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 เป็นวันที่พระสงฆ์ต้องจำวัด ขนมที่ใช้ในงาน ได้แก่
แกงบวดต่างๆ ข้าวต้มผัด
วันออกพรรษา
ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 จะมีการทำบุญตักบาตรเทโว สำหรับคนภาคใต้เรียกวันนี้ว่า ประเพณีทำบุญชักพระ หรือลากพระ ขนมที่ใช้ ได้แก่ ข้าวต้มลูกโยน ข้าวต้มผัด
เอกสารอ้างอิง
u http://elearning.bu.ac.th/mua/course/mk212/ch4.htm?bcsi_scan_3F7B9833129B942F=0&bcsi_scan_filename=ch4.htm
u http://www.banfun.com/culture/rainy-pass.html
u เสถียร โกเศศ. ประเพณีปลูกเรือน-แต่งงาน. กรุงเทพมหานคร: อักษณเสรี,2512.
นางสาวหนึ่งฤทัย เครือแตง
รหัส 48422030007
สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ทั่วไป